เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PRA (Participatory Rural Appraisal)
Advertisements

การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
1. ภาวะ ผู้นำ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาส ตร์ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ (SWOT) 2) กำหนดวิสัยทัศน์, พันธกิจ 3) นวัตกรรม BSC, KM 4) การมีส่วนร่วม.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
วิจัยเชิงคุณภาพ…ไม่ยากอย่างที่คิด
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
การวิจัยเชิงคุณภาพ Qualitative Research
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การจัดการเชิงกลยุทธ์
โดย รศ ดร. ประณีต ส่งวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Road to the Future - Future is Now
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การทำงานเชิงวิเคราะห์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
Controlling 1.
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
บทบาทการสร้างประโยชน์ต่อประเทศไทยผ่านการเชื่อมองค์ความรู้และ แนวปฏิบัติจากนานาชาติและสหประชาชาติ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิจัยในชั้นเรียน( Classroom Action Research)
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
โครงการพัฒนานักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2558 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จ.ปทุมธานี
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
Introduction to Public Administration Research Method
การวางแผนงานสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน SIM 2114 อาจารย์ดร. วาสนา สุรีย์เดชะกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

แนวคิดและความหมายชุมชน ชุมชน Community กลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่แห่งหนึ่ง มีความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน มีศรัทธา ความเชื่อ เชื้อชาติ การงาน ความรู้สึกนึกคิด ความสนใจที่คล้ายคลึงกัน มีการเกื้อกูลกัน ในการอยู่ร่วมกัน ชุมชนในรูปแบบใหม่ ชุมชน การพัฒนาเทคโนโลยี

การศึกษาชุมชน ความหมายของการศึกษาชุมชน กระบวนการศึกษาและอธิบายชุมชนอย่างเป็นระบบว่าชุมชนนั้นมีสภาพโดยรวมเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขทางด้านสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร มีรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในชุมชนเป็นอย่างไร มีการจัดระเบียบทางสังคมอย่างไร มีปัจจัยหรือมีอิทธิพลจากภายนอกมาเกี่ยวข้องอย่างไร มีองค์ความรู้อะไรบ้าง มีวิธีการและศักยภาพอย่างไรในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน

วัตถุประสงค์ในการศึกษาชุมชน การศึกษาชุมชนเพื่อหาข้อเท็จจริงต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน การศึกษาชุมชนเพื่อทดสอบความรู้เดิมให้มีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น การศึกษาชุมชนเพื่อนำข้อเท็จจริงไปใช้ประโยชน์ในงานพัฒนา

ประเภทของการศึกษาชุมชน การจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการนำความรู้ไปใช้ การจำแนกตามเนื้อหาข้อมูลที่จะนำไปใช้ - ศึกษาชุมชนแบบข้อมูลโดยละเอียด - ศึกษาชุมชนแบบข้อมูลเฉพาะ การจำแนกตามวิธีการเก็บข้อมูล - ศึกษาชุมชนแบบสำรวจ - ศึกษาชุมชนแบบการมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด - ศึกษาชุมชนแบบเอกสาร - ศึกษาชุมชนแบบอื่นๆ

ประเภทของการศึกษาชุมชน ( ต่อ ) การจำแนกตามวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล - การศึกษาชุมชนแบบปริมาณ - การศึกษาชุมชนแบบคุณภาพ การจำแนกตามผู้กระทำการศึกษา การจำแนกตามทรรศนะของผู้ศึกษา - การศึกษาชุมชนโดยบุคคลภายนอกชุมชน - การศึกษาชุมชนโดยบุคคลภายในชุมชน

แนวคิดในการศึกษาชุมชน ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมมี ๒ ระดับ - ปรากฏการณ์ในระดับผิวหน้า - ปรากฏการณ์ในระดับเบื้องหลังผิวหน้า ปรากฏการณ์ทางสังคมมีความสลับซับซ้อน แต่ละมิติมีความสัมพันธ์กัน ปรากฏการณ์ทางสังคมในสังคมหนึ่งถูกกำหนดขึ้นและเข้าใจความหมายรู้กันในกลุ่มคนซึ่งอยู่ในสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมเดียวกัน การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม ต้องอาศัยการเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมหนึ่งๆ

มิติ / ประเด็นของการศึกษาชุมชน โครงสร้างทางสังคม ( Social Structure ) สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ ( Ecology ) กลไก หรือ วัฒนธรรม ( Culture )

ข้อพิจารณาในการศึกษาชุมชน ต้องศึกษาประวัติศาสตร์หมู่บ้านและรูปแบบการใช้ทรัพยากร ต้องศึกษาผู้นำและบทบาทผู้นำ ต้องศึกษา ทั้งในด้านความสัมพันธ์และความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคม ต้องมีการสร้างแบบจำลอง ( Model ) เพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาชุมชนและอธิบายชุมชน

เทคนิคการศึกษาชุมชน การประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน ( Rapid Rural Appraisal - RRA ) การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วม ( Participatory Rural Appraisal - PRA ) การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ( Participatory Action Research - PAR )

เทคนิคการศึกษาชุมชน ( ต่อ ) การศึกษาวิเคราะห์ระบบชนบท ( Rural System Analysis - RSA ) การวิเคราะห์ระบบนิเวศเกษตร ( Agro – ecosystem Analysis - AA ) การวิเคราะห์ชุมชนด้วยความละเอียดอ่อน ( Soft System Analysis - SSA )

เทคนิคการศึกษาชุมชน ( ต่อ ) แผนที่ความคิด ( Mind Mapping ) เทคนิค A – I – C ( Appreciation Influence Control ) SWOT ( SWOT Analysis )

เทคนิคการศึกษาชุมชน ( ต่อ ) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแสวงหาอนาคตร่วมกัน ( Future Search Conference - FSC ) กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม ( Social Learning Process - SLP )

วิธีการและกระบวนการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน การสังเกต ( Observation ) การสัมภาษณ์ ( Interview ) การสนทนากลุ่ม ( Focus Group ) การใช้ข้อมูลเอกสาร การเข้าสนาม การศึกษาแบบผสมผสาน

เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การทบทวนข้อมูลมือสอง ( Review of Secondary Sources ) การสังเกตการณ์โดยตรง ( Direct Observation ) แผนที่วงจรข่าย ( Network Map ) การสัมภาษณ์ ( Interview ) แบบสอบถามอย่างสั้น ( Short Questionnaire )

เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ( ต่อ ) ประวัติบุคคล ( Biography ) การทำประวัติพื้นที่ ( Local History ) เส้นเวลา ( Time Line ) การศึกษารายกรณี ( Case Study )

พยายามมองให้พ้นจากตนเอง ขจัดทรรศนะที่มีไว้ล่วงหน้าออกไปเสียก่อน การวิเคราะห์ชุมชน แนวคิดในการวิเคราะห์ชุมชน มองโดยยึดค่านิยม ความเชื่อ ความคุ้นเคย และแบบแผนการใช้ชีวิตของตนเองเป็นหลัก และมองเพียงปรากฏการณ์ผิวเผิน มองโดยยึดตนเองเป็นหลัก แต่มีความเห็นว่าบางส่วนของสังคมยังไม่เหมาะสม ต้องมีการแก้ไข มองโดยยึดตนเองเป็นหลัก แต่เพิ่มความพยายามในการศึกษาต้นตอของปรากฏการณ์ต่างๆในมุมที่กว้างขึ้น พยายามมองให้พ้นจากตนเอง ขจัดทรรศนะที่มีไว้ล่วงหน้าออกไปเสียก่อน

หลักการวิเคราะห์ชุมชน ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน ศึกษาสาเหตุของปัญหา ศึกษาความสามารถในการแก้ไขปัญหา ศึกษาลู่ทางในการแก้ไขปัญหา

กระบวนการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและทรรศนะ เปรียบเทียบ สังเกต และจัดหมวดหมู่ข้อมูลเนื้อหา แยกแยะ ตีความ สรุปความ ขยายความ และประเมินค่าข้อมูลเนื้อหา ค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆ และสรุปเนื้อหา สร้างความรู้ความเข้าใจ สรุปเนื้อหาที่นำไปปฏิบัติได้

การวิเคราะห์ชุมชนกับการพัฒนา เป็นกระบวนการซึ่งทำให้เห็นถึงปฏิกิริยาหรือการตอบสนองต่อปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบต่างๆ ซึ่งนำไปสู่การวางแผนพัฒนา เป็นการศึกษาวิจัยระดับจุลภาคที่เน้นเฉพาะในท้องถิ่นที่ขอบเขตพื้นที่ไม่กว้าง ทำให้เจาะลึกเข้าไปค้นคว้าและวิเคราะห์ปัญหาเฉพาะของท้องที่นั้นๆได้สะดวก

การวิเคราะห์ชุมชนกับการพัฒนา ( ต่อ ) เป็นการศึกษาวิจัยระดับจุลภาคทำให้วิเคราะห์ได้ว่ากลุ่มใดมีฐานะเช่นใด และมีปัญหาใด ในกระบวนการวิเคราะห์ชุมชนร่วมกับสมาชิกของชุมชนเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการพัฒนาการวิจัยเชิงคุณภาพ ส่งผลให้การพัฒนาชุมชนประสบความสำเร็จ

เงื่อนไขและขอบเขตการประยุกต์ใช้ ระบบรัฐบาล ระบบชุมชน นักพัฒนา