งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 01132491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Basic Research Methods in Business เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ ณรงค์พงศ์ เพิ่มผล คณะวิทยาการจัดการ 1-2 : 1/8 ส.ค. 60

2 หมู่ 800 วันอังคาร เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10209
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ หน่วยกิต Basic Research Methods in Business วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันอังคาร เวลา น. ห้อง 10209 หมู่ 850 วันอังคาร เวลา น. ห้อง 10209 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ /วันอังคาร/วันพฤหัสบดี เวลา น. - วันอาทิตย์ เวลา น. - วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : : : Line ID : ts13ku-3 : Tel

3 Descriptive Statistics Inferential Statistics
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ หน่วยกิต Basic Research Methods in Business วิชาพื้นฐาน : - วิชา/ความรู้ที่ควรจะมี : สถิติ (Statistics) เป็นเครื่องมือ (Tools) วิถีทางสู่เป้าหมาย (Means to End) สถิติเชิงพรรณนา Descriptive Statistics สถิติ Statistics สถิติอนุมาน Inferential Statistics

4 วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) :
1. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงหลักการ แนวทางการวิจัย บทบาทและ ความสำคัญของการวิจัยทางธุรกิจที่มีต่อการจัดการและการตัดสินใจ ทางธุรกิจ 2. เพื่อให้นิสิตเพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับหลักการ ระเบียบ วิธีวิจัย ขั้นตอนและกระบวนการในการดำเนินงานวิจัยตั้งแต่ การกำหนดประเด็นปัญหาจนถึงการเขียนรายงานการวิจัยและ เสนอผลงานวิจัยทางธุรกิจ เพื่อให้นิสิตมีทักษะ ความชำนาญ ความสามารถเชิงการวิเคราะห์ และการปฏิบัติทางการวิจัยทุกขั้นตอนตามหลักวิชาการ พร้อมทั้ง การประยุกต์ใช้งานวิจัยสำหรับการจัดการและตัดสินใจทางธุรกิจ

5 1 2 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
Principles and methods in business research, identification of research problems, formulation of research objectives and hypotheses, collection of data, construction of questionnaire, data analysis and interpretation, application of statistics for research, report writing and presentation. 2 หลักและระเบียบวิธีการวิจัยทางธุรกิจ การกำหนดปัญหา การวางรูปแบบวิจัย การตั้งวัตถุประสงค์และสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างแบบสอบถาม การวิเคราะห์และตีความข้อมูล การใช้สถิติสำหรับการวิจัย การเขียนรายงานและการเสนอผลการวิจัย

6 วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การบรรยาย การอธิบาย การศึกษาตรวจสอบและทบทวน การนำเสนอตัวอย่างและค้นคว้าผลงานวิจัย การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม การเรียนและ การสอน การค้นคว้า การรวบรวม วิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การทำแบบฝึกหัด การทำงานที่มอบหมายและการทดสอบ การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การจัดทำโครงการวิจัย การฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ การเขียนรายงาน การสรุปและการนำเสนอผลการวิจัย การฝึกปฏิบัติ การวิจัย

7 เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน
อุปกรณ์และสื่อการสอน : เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน เครื่อง คอมพิวเตอร์/ เครื่องพิมพ์/ โปรแกรม หนังสือ ตำรา แบบฝึกหัด สื่อการสอน /เครื่องมือ /อุปกรณ์ นำเสนอ เอกสาร ประการสอน

8 การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วม สนใจและแลกเปลี่ยนในการเรียนสม่ำเสมอ ร้อยละ 10 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 15 3. การทำโครงร่างและรายงานการวิจัย ร้อยละ 30 4. การสอบกลางภาค ร้อยละ 20 5. การสอบปลายภาค ร้อยละ 25 การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน *

9 การประเมินผลการเรียน :
สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

10 * คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง*
ข้อกำหนดในการเรียน : 1 นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง (อย่างน้อย 12 ครั้งๆ ละ 3 ช.ม.) นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลากิจ 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลาป่วยจะต้องมีใบรับรองแพทย์ทุกกรณี * คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง* 2 นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3 นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนขณะสอนอันมีผลทำให้การเรียนการสอนขาดคุณภาพ 4 นิสิตต้องเข้าร่วมการฝึกปฏิบัติการและการจัดทำรายงานการวิจัยกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ 5 นิสิตต้องเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยในภาคการศึกษาอย่างเป็นประจำ

11 1 2 3 4 5 6 7 Common Business Research Methods & Techniques : Surveys
Interviews 2 Observation 3 Experiments 4 Archival and Historical Data 5 Qualitative Analysis 6 Quantitative Analysis 7

12 Typical Users of Business Research :
Businesses and Corporations Public-Sector Agencies Consulting Firms Research Institutes Non-Governmental Organizations Non-Profit Organizations Independent Researchers and Consultants

13 Who Conducts Business :

14 Some Organizations Use Internal Research :

15 Some Organizations Use External Research Sources :

16 Business Research Firms :

17 Consultants and Trade Associations :

18 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจดำเนินงาน
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ : การวิจัยทำให้เกิดความรู้และความชำนาญที่ต้องการสำหรับการตัดสินใจ ที่รวดเร็วภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ถูกกำหนด : 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจดำเนินงาน ทางธุรกิจขององค์กรต่างๆ มีปริมาณมากขึ้น 2. การแข่งขันของธุรกิจมีมาก และรุนแรงขึ้นทั้งระดับภายใน ประเทศและระดับโลก องค์กรจำเป็นต้องปรับตัว 3. องค์ความรู้ต่างๆ ทางธุรกิจเจริญก้าวหน้ามากขึ้น : ระดับ คุณภาพทฤษฎีและแบบจำลอง 4. สารสนเทศต่างๆ มีอยู่มากมายบนเครือข่ายโลก (World Wide Web, WWW)

19 5. องค์กรต่างๆ นิยมทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ในการ
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ : 5. องค์กรต่างๆ นิยมทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อหากฎเกณฑ์ การเรียนรู้และหาความรู้ที่ มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในองค์กร (Internal Databases) 6. ความก้าวหน้าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ภาคธุรกิจสร้าง คลังข้อมูล (Data Warehousing) 7. บุคลากร พนักงาน/เจ้าหน้าที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้าและสาธารณชน ทั่วไปสามารถแสวงหาสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 8. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยการคำนวณได้รวดเร็วขึ้น ในการแก้ไขปัญหาองค์กร

20 10. พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตาม
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ : 9. จำนวนและขีดความสามารถเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัยเพิ่มขึ้น เช่น โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศและ การพัฒนาเทคนิค 10. พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตาม สถานการณ์และความต้องการ 11. ความต้องการลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มีความซับซ้อน ขึ้นและทรัพยากรมีจำกัด แต่ความต้องการบริโภคหรือใช้บริการมากขึ้น 12. ภาคธุรกิจมีการพัฒนาองค์กรอย่างมาก และเกิดความทันสมัย ประกอบกับภาวะโลกาภิวัตน์ทำให้สามารถเชื่อมโยงของภาคการผลิต การค้า และพาณิชยกรรมทั่วทุกพื้นที่และทั่วโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น

21 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร :
การแก้ไขปัญหาทางการจัดการที่เกิดขึ้น โดยนักบริหารการเงิน-บัญชี จะเสนอข้อมูลหรือต้องตัดสินใจเกี่ยวกับ: - การตัดสินใจลงทุน (Investment Decision) - การตัดสินใจแสวงหาเงินทุน (Financial Decision) - การตัดสินใจการจ่ายเงินปันผล (Dividend Decision) การวางแผนเพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการบรรลุตาม เป้าหมายองค์กร 3. การให้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจขององค์กร 4. การควบคุม และตรวจสอบระบบการเงิน-บัญชีให้มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างถูกต้อง สร้างความต้องการเสนอให้กับลูกค้า ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ แทนที่จะให้ลูกค้าเรียกร้องก่อน

22 ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร :
ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ แผนงาน ที่กำลังพัฒนา การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทางเลือก ที่เกิดขึ้น - Primary Data - Secondary Data ทางเลือก ที่เลือก

23 1. Coordinated activities
เหตุผลการวางแผนธุรกิจ : 1. Coordinated activities 2. Future scenario 3. Rational decision making 4. Monitoring 5. Control

24 เหตุผลการวางแผนธุรกิจ :
สภาพแวดล้อม แนวทางและ ทางเลือกทาง ธุรกิจ แนวทางหรือ ทางเลือก ที่ดีที่สุด ปัญหาและ เหตุการณ์ ทางการธุรกิจ ข้อมูล ความต้องการ ของลูกค้า/ ผู้ใช้บริการ ความพอใจ/สนองความต้องการ แผนการทาง ธุรกิจ

25 ลักษณะข้อมูลการวางแผนทางธุรกิจ :
คุณสมบัติของข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน มีความเกี่ยวข้อง (Relevance) มีคุณภาพ (Quality) Accuracy : สูง Errors : ต่ำ มีความทันสมัย (Timeless) = Up to Date มีความสมบูรณ์ (Completeness)

26 ประโยชน์การวางแผนทางธุรกิจ :
1. รับรู้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2. ง่ายต่อการควบคุมและประเมินผล 3. สามารถกำหนดกิจกรรมทางธุรกิจช่วงเวลาต่างๆ อย่างเหมาะสม 4. สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าในอนาคต 5. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพ

27 คุณค่าของการมีทักษะการวิจัย :
เพื่อเป็นการรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ก่อนลงมือในการปฏิบัติงาน ซึ่ง สามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการศึกษาวิจัยและแสวงหาความรู้ระดับสูงที่มีความลึกซึ้ง ต่อไป เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในการออกแบบวิจัย ขั้นตอนและกระบวน การวิจัย เพื่อสามารถประเมินและแก้ปัญหาทางการบริหารในองค์กรอย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างอาชีพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัยทางการตลาดและธุรกิจ หรือการวิจัยด้านต่างๆ

28 วัตถุประสงค์ของการวิจัย :
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจยิ่งขึ้น เกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่จะไปศึกษา เชื่อถือได้ (reliability) “น่าเชื่อถือ” เกี่ยวกับความคงเส้นคงวาของคำตอบ แม่นตรง (validity) “ตรงประเด็น” หมายถึง การหา ข้อสรุปหรือการดำเนินการวัดที่ตรง เป้าตรงประเด็นกับสิ่งที่ประสงค์จะวัด

29 ความต้องการของงานวิจัย :

30 Characteristics of the Scientific Method
The Essence of the Scientific Method : Characteristics of the Scientific Method : Objectivity : Systematic Analysis : Logical Interpretation of Results Elements of the Scientific Method Empirical Approach Observations Questions Hypotheses Experiments Analysis Conclusion Replication General Laws Basic Research Scientific Method Applied Research Information or Ideas for alternative Courses of action


ดาวน์โหลด ppt ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google