การงอกของเมล็ด นางสาว ปรียาพร สำอางอินทร์ เลขที่ 10ก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Organic Intermediate ในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์จะต้องเกี่ยวข้องกับ การแตกพันธะ (bond breaking) และการสร้างพันธะ (bond forming) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนกลไกการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ.
Advertisements

การเจริญเติบโตของพืช
5. การเปลี่ยนแปลงของประชากรวัชพืช (shifts in weed population)
3. การตั้งตัวของวัชพืช (establishment of weeds)
การออกดอกและการสร้างเมล็ดของวัชพืช
Structural, Physical and Chemical properties of Grains
การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
Ethylene -เป็นฮอร์โมนพืชชนิดเดียวที่มีสถานะเป็น gas -ค้นพบเมื่อปี 1868
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
II. Post harvest loss of cereal crop
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ ๒ (พ. ศ
ชื่อผลงาน ชื่อทีม: หน่วยงาน: รูปแบบ: Idea seed
BIOCONTROL OF RICE DISEASES By TRICHODERMA HARZIANUM IN THAILAND
การพังทลายของคันทางเนื่องจากน้ำลดระดับอย่างรวดเร็ว (Rapid Drawdown)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Reproduction in a flowering plant)
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
What are the parts of a plant?. Vocabulary 1) Plant- พืช 7) Buds- ดอกตูม 2) Roots- ราก 8) Flower- ดอกไม้ 3) Stem- ลำต้นเล็ก 9) Fruit- ผลไม้ 4) Trunk-
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
แมลงกับสิ่งแวดล้อม 1.สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมแมลง
True Innovation Awards 2015 for True Presented by: Date:
TOP 5 THAI SOUVENIRS to buy in Thailand
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
บทที่ 3 กระบวนการพัฒนา(Process Model)
ความรู้เรื่องอัคคีภัย Fire Prevention And Control
ดับเพลิงขั้นต้น ทรงพล หอมอุทัย.
Energy Consumption and CO2 Emission of Rice Production in THAILAND
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
อาหาร เพื่อสุขภาพ 16feb11.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
วท 102 สมุนไพรและสารสกัดสมุนไพร (หัวข้อ 9)
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ หากพูดถึงผู้สูงอายุเรานึกถึงอะไร.
การวเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ
3. ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้บนอินเทอร์เน็ต
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
กิจกรรมการพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
การออกแบบแก้ไขการพังทลายของลาดดิน โครงการหมู่บ้านปัญญาเลคโฮม
ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว.
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
การผลิตก๊าซชีวภาพที่เตรียมจากทะลายปาล์มที่ผ่านการปรับสภาพ
ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การสืบพันธุ์ Reproduction.
สมบัติเชิงกลของสสาร Mechanical Property of Matter
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ทบทวนพฤกษศาสตร์ของพืช
การจัดการความรู้ กรมชลประทาน Knowledge management (KM)
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
บทที่ 8 การพักตัวของพืช
Inheritance Chapter 07.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การสืบพันธุ์ของพืช.
Genus: Hevea Species: brasiliensis Family: Euphorbiaceae
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 5 พฤศจิกายน 2561
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
การขยายพันธุ์พืช.
“ธาตุหายาก” คืออะไร. กรณีศึกษา ธาตุโลหะหายาก (Rare-Earth Elements) Environment, Technology & Life.
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ ณ ห้องประชุมย่อยศูนย์สถานการณ์น้ำ
การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่ออนาคต
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
GSC151 ชีวิตและสภาพแวดล้อมในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
อธิบายข้อแตกต่างระหว่าง ศูนย์ฯที่ใช้ไฟล์เก่า กับศูนย์ฯที่เริ่มต้นใช้ไฟล์ใหม่ 1 กุมภาพันธ์ 2562.
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การงอกของเมล็ด นางสาว ปรียาพร สำอางอินทร์ เลขที่ 10ก นางสาว ปรียาพร สำอางอินทร์ เลขที่ 10ก นางสาว อภิสรา โพธิดอกไม้ เลขที่ 11ก นางสาว ณัฐชยา ทองนุช เลขที่ 14ข

การงอกของเมล็ด เกี่ยวข้องกับกระบวนการ 4 กลุ่มคือ 1. การดูดน้ำ (Imbibition of Water) 2. การสร้างระบบเอนไซม์ และการใช้ออกซิเจนเพื่อการหายใจ 3. การเจริญและงอกของ Radicle 4. การเจริญของต้นอ่อน

ลักษณะการงอกของต้นกล้า Epigeous germination  เป็นต้นกล้าที่มี ส่วนของลำต้นที่อยู่ใต้ใบเลี้ยง (hypocotyl) ยืดตัว และชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน ได้แก่ ถั่ว เขียว ดาวเรือง คะน้า มะขาม เมื่อใบเลี้ยงคลี่ตัวออกและเปลี่ยนเป็น สีเขียวสามารถช่วยในการสังเคราะห์ แสงได้

ลักษณะการงอกของต้นกล้า Hypogeous germination       ส่วนต้นกล้าที่มีส่วนของลำต้นที่อยู่เหนือใบเลี้ยง(epicotyl) ยืดตัวขึ้นมาในการงอก เรียกว่า hypogeous (hypogeal) germination ทำให้ใบเลี้ยงไม่ชูขึ้นเหนือดิน ได้แก่ ข้าวโพด ถั่วลันเตา ขนุน หญ้า

สิ่งสำคัญที่จำเป็นต่อการงอกของเมล็ด

สิ่งสำคัญที่จำเป็นต่อการงอกของเมล็ด เมล็ดต้องมีชีวิตอยู่ หมายความว่า เมล็ดนั้นยังมีชีวิตอยู่และสามารถที่จะงอกได้ ในการเก็บเมล็ดพืชไว้นานๆ เมล็ด พืชจะหมดอายุทำให้เพาะไม่งอก หรือมีอัตราการงอกต่ำ

สิ่งสำคัญที่จำเป็นต่อการงอกของเมล็ด น้ำหรือความชื้น เมื่อเมล็ดได้รับน้ำ เปลือกหุ้มเมล็ดจะอ่อนตัวลง ทำให้น้ำและออกซิเจนผ่านเข้าไปในเมล็ดได้ มากขึ้น น้ำจะเป็นตัวกระตุ้นปฏิกิริยาทางชีวเคมีต่างๆภายในเมล็ด ให้มีการกระตุ้นการสร้างเอนไซม์เพื่อ ย่อยสลายสารอาหารที่สะสมในเมล็ดและแพร่เข้าไปในเอ็มบริโอเพื่อใช้ในการหายใจและการเจริญเติบโต นอกจากนี้น้ำยังเป็นตัวทำละลายสารอื่นๆที่สะสมในเมล็ดและช่วยในการลำเลียงสารอาหารไป ใช้ตัวอ่อนใช้ในการงอก

สิ่งสำคัญที่จำเป็นต่อการงอกของเมล็ด ออกซิเจน เมล็ดขณะงอกมีอัตราการหายใจสูง ต้องการออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการสลายสารอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานซึ่งจะนำไปใช้ในกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆของเซลล์ แต่มีพืชบางชนิด เช่น พืชน้ำ สามารถงอกได้ดีในออกซิเจนต่ำ ความชื้นสูง เพราะสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน

สิ่งสำคัญที่จำเป็นต่อการงอกของเมล็ด อุณหภูมิ เมล็ดพืชแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการงอกแตกต่างกัน เช่น เมล็ดพืชเขตหนาวจะงอกได้ดีในช่วงอุณหภูมิ 10-20 องศาเซลเซียส แต่ก็มีบางชนิดต้องการอุณหภูมิ ในช่วงกลางวันและกลางคืนที่ต่างกัน หรือให้อุณหภูมิต่ำสลับกับอุณหภูมิสูง การงอกจะเกิดดี เช่น บวบ เหลี่ยม

สิ่งสำคัญที่จำเป็นต่อการงอกของเมล็ด แสง เป็นปัจจัยหนึ่งที่ควบคุมการงอกของเมล็ด เมล็ดพืชบางชนิดจะงอกได้ต่อเมื่อมีแสง เช่น วัชพืช ต่างๆหญ้า ยาสูบ ผักกาดหอม สาบเสือ ปอต่างๆ เป็นต้น เมล็ดพืชอีกหลายชนิดไม่ต้องการแสงในขณะ งอก เช่น กระเจี๊ยบแตงกวา ผักบุ้งจีน ฝ้าย ข้าวโพด เป็นต้น

การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy)

การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy) การพักตัวของเมล็ด หมายถึง ช่วงที่เมล็ดพืชยังไม่พร้อมที่จะงอกขึ้นเป็นต้นพืชใหม่ได้ ดังนั้น การเพาะเมล็ดบางชนิดอาจต้องทำลายการพักตัวของพืชก่อน เพื่อให้เมล็ดงอกได้เร็วยิ่งขึ้น วิธีการทำลาย การพักตัวของเมล็ด (Methods of breaking the dormancy of seeds)

การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy) ระยะพักตัวของเมล็ดเนื่องมาจากสาเหตุ คือ เปลือกหุ้มเมล็ดไม่ยอมให้น้ำซึมผ่านเข้าไปยังส่วนต่างๆของเมล็ด เนื่องจากเปลือกหุ้มเมล็ดหนาหรืออาจมีสารบางชนิดหุ้มอยู่ เช่น คิวทิน หรือ ซูเบอริน วิธีการแก้ การพักตัวของเมล็ดจากสาเหตุนี้อาจทำได้โดยการแช่น้ำร้อนหรือแช่ในสารละลายกรด เพราะจะทำให้ เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนนุ่ม   

การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy) เปลือกหุ้มเมล็ดไม่ยอมให้แก๊สออกซิเจนแพร่ผ่าน   การพักตัวแบบนี้มีน้อย ส่วนใหญ่เป็นพืชวงศ์หญ้าเป็นการพักตัวในระยะสั้นๆเก็บไว้ระยะหนึ่งก็ สามารถนำไปเพาะได้ วิธีการแก้การพักตัวอาจทำได้โดยการเพิ่มแก็สออกซิเจนหรือใช้วิธีกลทำให้เปลือก หุ้มเมล็ดแตก

การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy) เอ็มบริโอของเมล็ดยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่    เมล็ดไม่สามารถจะงอกได้ต้องรอเวลาช่วงหนึ่งเพื่อให้เอ็มบริโอมีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี รวมไปถึงการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอให้แก่เต็มที่เมล็ดจึงจะงอกได้  

การพักตัวของเมล็ด (Seed dormancy) สารเคมีบางชนิดยับยั้งการงอกของเมล็ด  เช่น   สารที่มีลักษณะเป็นเมือกหุ้มเมล็ดมะเขือเทศทำให้เมล็ดไม่สามารถงอกได้จนกว่าจะถูกชะ ล้างไปจากเมล็ด การแก้การพักตัวของเมล็ด อาจล้างเมล็ดก่อนเพาะหรือการใช้สารเร่งการงอก 

อ้างอิง http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY7_dormancy.htm http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359301/pprop/3.seed/epigeal.html http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/science04/24/pages/index5643.html