ปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาและ ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Case Tenofovir-Alopecia.
Advertisements

21/02/54 Ambulatory care.
นศ.ภ.จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค ผลการสำรวจทัศนคติ ความเห็นของประชาชน DDC Poll ครั้งที่ 12 “ เรื่อง … รู้จักและเข้าใจโรคไข้หวัดใหญ่ 31 มีนาคม 2558.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
จัดทำข้อมูลวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การแพ้ยา
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
พระพุทธศาสนา.
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
การกำจัดขยะและสารเคมี
การใช้ยา.
เอชไอวีในแม่และเด็ก: การป้องกันและการดูแลรักษาแม่และเด็ก
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการการป้องกันและการบริหารจัดการด้านเอดส์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 23-Jul-19.
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาและ ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ จากยาต้านไวรัสเอชไอวี ใน รพ.บึงกาฬ ภญ.นันทนา เสียงล้ำ โรงพยาบาลบึงกาฬ จ.บึงกาฬ

ผู้วิจัยและที่อยู่องค์กร คำสำคัญ - อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ผู้วิจัยและที่อยู่องค์กร ภญ.นันทนา เสียงล้ำ และทีมคลินิกนภา รพ.บึงกาฬ 255 หมู่ที่ 1 ต.บึงกาฬ อ.บึงกาฬ จ.บึงกาฬ 38000

ความสำคัญของปัญหา โรคเอดส์ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จึงต้องมีการเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยามากมาย ที่ส่งผลต่อการรักษาของทีมสหสาขาวิชาชีพ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาต้านไวรัสเอชไอวีและผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาของผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวี ในโรงพยาบาลบึงกาฬเพื่อนำมาพัฒนางานบริการที่คลินิกยาต้านไวรัสเอชไอวี ให้มีการเฝ้าระวัง ติดตาม ป้องกันและแก้ไขปัญหาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความปลอดภัยจากการใช้ยามากขึ้น

กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ 2. อายุ 3.ภาวะทุโภชนาการที่เกิดจากตัวโรค (ใช้ค่า IBW เพื่อบ่งบอกว่าผู้ป่วยมีภาวะทุโภชนาการหรือไม่) 4. ปริมาณ CD4 (cell/mm3) 5. ร้อยละ CD4 6.สูตรยาในกลุ่ม NNRTIs ที่ใช้ - การแพ้ยาต้านไวรัสเอชไอวีทางผิวหนัง ส่งผลให้ต้องหยุดยาต้านไวรัสเอชไอวี -การเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา ส่งผลให้ต้องหยุดยาต้านไวรัสเอชไอวี

นิยามศัพท์ที่สำคัญ อาการไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse Drug Reaction : ADR) หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ และเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติ เพื่อป้องกัน วินิจฉัย บำบัดรักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทำงานของร่างกาย โดยไม่รวมปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาในทางที่ผิด

อาการไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse Drug Reaction : ADR) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ Type A หมายถึง ADR เป็นผลสัมฤทธิ์จากเภสัชวิทยาของยา สามารถทำนายอาการได้ความรุนแรงของอาการที่เกิดขึ้นมีความสัมพันธ์ กับขนาดยา เช่น พิษจากการได้รับยาเกินขนาด หรือ ผลข้างเคียงจากการใช้ยา ผลข้างเคียงจากยา Type B หมายถึง ADR เป็นปฏิกิริยาที่ตอบสนองเฉพาะบางคน จะเกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวกับยานั้น ไม่สามารถทำนายอาการ ที่เกิดขึ้นด้วยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาได้ ความรุนแรงไม่สัมพันธ์กับขนาดยา แพ้ยา

วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - ผู้ป่วยที่รับยาต้านไวรัสเอชไอวี ใน รพ.บึงกาฬ ในเดือนมกราคม – พฤษภาคม 2559 - จำนวนขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ใช้สูตรตารางสำเร็จรูปของ เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย (2535 : 155) n = 517 คน กลุ่มตัวอย่าง = 25 % × n ดังนั้น กลุ่มตัวอย่าง คือ 130 คน

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เก็บข้อมูลจาก 1 แบบเก็บข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาต้านไวรัสเอชไอวี การตรวจสอบเครื่องมือ ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อความถูกต้องและครอบคลุมของเนื้อหา (Content Validity)

วิธีดำเนินการวิจัย (ต่อ) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. ใช้สถิติวิเคราะห์ (Analytical statistic) หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม ได้แก่ Chi - square Test

ผลการวิจัย 1. จำนวนและร้อยละจำแนกตามข้อมูลทั่วไป 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดการแพ้ยาต้านไวรัสเอชไอวี 3. ผลการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาต้านไวรัสเอชไอวี

ผลการวิจัย (ต่อ) 1.จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยจำแนกตามข้อมูลทั่วไป ส่วนใหญ่อายุ 40-49 ปี (ร้อยละ 44.60) อายุ 30-39 ปี (ร้อยละ 28.50)

ผลการวิจัย (ต่อ) 1. จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยจำแนกตามข้อมูลทั่วไป

ผลการวิจัย (ต่อ) จากการใช้สถิติวิเคราะห์ Chi –square test 2. ผลปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาต้านไวรัส เอชไอวี จากการใช้สถิติวิเคราะห์ Chi –square test เพื่อหาความสัมพันธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดการแพ้ยา พบว่า ในกลุ่มที่แพ้ยาต้านไวรัสเอชไอวีและกลุ่มที่ไม่แพ้ ยาต้านไวรัสเอชไอวีไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในด้าน เพศ อายุ น้ำหนักตัว (%IBW) จำนวน CD4 และ %CD4

การอภิปรายผล จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านฯ NVP ถ้าผู้ป่วยมี CD4 สูง (ผู้หญิง CD4250 cell/mm3 และผู้ชาย CD4400 cell/mm3 ) จะมีโอกาสในการเกิดอาการข้างเคียงจากยาได้มาก แต่จากการศึกษาครั้งนี้จำนวน CD4 ไม่มีความสัมพันธ์กับการเกิด การแพ้ยา อาจเนื่องจากกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี CD4  200 (ร้อยละ 44.60) จึงทำให้ไม่มีความแตกต่างกัน

ผลการวิจัย (ต่อ) แพ้ยา 3. ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาต้านไวรัส เอชไอวี แพ้ยา ผื่นแพ้ยาทางผิวหนัง จำนวน (ร้อยละ) ความรุนแรง MP Rash 26 ราย (96.30) D = 13 E = 11 F = 2 Steven Johnson’syndrome 1 ราย (3.70) F

ผลการวิจัย (ต่อ) ผลข้างเคียงจากยา 3. ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาต้านไวรัส เอชไอวี ผลข้างเคียงจากยา

ผลการวิจัย (ต่อ) 3. ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาต้านไวรัส เอชไอวี ยา ADR ระดับความรุนแรง AZT Anemia = 6 ราย D = 2 F = 4 TDF Renal toxicity= 3 ราย AVN = 2 ราย E = 1 F = 2 EFV Gynecomastia = 2 ราย LPV/r Diarrhea = 1 ราย F NVP Liver toxicity = 1 ราย

การอภิปรายผล จากผลการศึกษาครั้งนี้ ผลเริ่มยา ARV การเกิดผื่นแพ้ยามักพบ ในช่วง 14 วัน (ร้อยละ 70.37) หลังเริ่มยาและ มีอาการไม่รุนแรง(ร้อยละ 48.15) ส่วนใหญ่หยุดยาแล้วมีอาการดีขึ้น แต่เรามักพบผลข้างเคียงจากยาที่รุนแรงหลังจากการเริ่มยา มากกว่า 1เดือน (ร้อยละ 86.67) และผู้ป่วยมีอาการรุนแรง จนต้องนอนโรงพยาบาล (ร้อยละ 53.33)

บทเรียนที่ได้รับ การติดตาม ADR จากการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวี ในผู้ป่วยที่เริ่มยาครั้งแรกในช่วง 14 วันแรกต้องให้ความสำคัญในการติดตามการแพ้ยาทางผิวหนัง และให้ความรู้ผู้ป่วยในการสังเกตและเฝ้าระวังการเกิดผื่น และในระยะยาวต้องมีการติดตาม ADR จากการใช้ยาที่รุนแรง เช่น ติดตามค่า Hct,Hb ในการเฝ้าระวังภาวะซีด (Anemia) จากยา AZT ,ติดตามค่า Cr,CrCl หรือ GFR ผู้ป่วย อย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันอันตรายจากยา TDF เป็นต้น โดยการเฝ้าระวัง ADR จากยาต้านไวรัชเอชไอวี ในทีมสหสาขาวิชาชีพร่วมกันจะทำให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยจากการใช้ยามากขึ้น

กิจกรรมพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในคลินิกนภาที่ดูแลผู้ป่วยได้มีแนวทางในการดูแลผู้ป่วย ดังนี้ 1. ในผู้ป่วยที่เริ่มยาต้านไวรัสเอชไอวีครั้งแรก คลินิกจะนัดผู้ป่วย 14 วันเพื่อติดตามดูอาการไม่พึงประสงค์โดยเฉพาะผื่นผิวหนังทุกรายและให้คำแนะนำผู้ป่วยในการสังเกตอาการผื่นแพ้ยา 2. ก่อนเริ่มยาต้องมีการเจาะ Lab พื้นฐาน เช่น CD4,CBC,Hb ,AntiHCV,UA,CXR,SGOT,SGPT,Cr,Lipid profile,FBS 3. หลังผู้ป่วยเริ่มยา 1 เดือน จะมีการเจาะ Lab CBC,Cr,UA ในผู้ป่วยที่ได้รับยา AZT หรือ TDF เพื่อเฝ้าระวังผลข้างเคียงจากยาที่รุนแรง 6. หลังผู้ป่วยเริ่มยา 6 เดือน เจาะ Lab CD4,CBC,Hb ซ้ำเพื่อเปรียบเทียบกับ Lab พื้นฐาน เฝ้าระวังในรายที่มีความเสี่ยงของการเกิดผลข้างเคียงจากยาที่รุนแรง

ติดต่อกับทีมงาน ภญ.นันทนา เสียงล้ำ และทีมคลินิกนภา รพ.บึงกาฬ 255 หมู่ที่ 1 ต.บึงกาฬ อ.บึงกาฬ จ.บึงกาฬ 38000 เบอร์โทร 042-491161-3 ต่อ 266 E-Mail : nstukata@yahoo.com

THANK YOU