บทที่ 14 การออกแบบระบบและนำไปใช้.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
บทที่ 3 เทคนิคการจัดทำเอกสาร ของระบบสารสนเทศ
อยู่ระหว่างดำเนินการ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
หมวดที่ 6 การจัดซื้อ และจัดจ้าง
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
Workshop Introduction
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
บทที่ 2 ความเข้าใจพื้นฐานของการพัฒนาระบบ .
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 14 การออกแบบระบบและนำไปใช้

1. การออกแบบ 1.1 ประเภทของการออกแบบ 1. การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) - การออกแบบสำหรับการนำข้อมูลเข้า - การไหลเข้าของข้อมูล - การจัดเก็บข้อมูล - การไหลออกของข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ - การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.1 ประเภทของการออกแบบ 2. การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) - การออกแบบฟอร์มสำหรับคีย์ข้อมูล - การออกแบบรายงานสำหรับแสดงข้อมูล - การออกแบบโปรแกรม - การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.2 การออกแบบทางเทคนิค 1. ด้านการนำข้อมูลเข้า 2. ด้านการประมวลผลข้อมูล 3. ด้านการแสดงผลลัพธ์ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.3 การออกแบบวิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential) 2. แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม (Random) 3. แฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับพร้อมดัชนี (Index Sequential Access Model) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.4 การออกแบบส่วนแสดงผลลัพธ์การทำงาน (Output) 1.4.1 วัตถุประสงค์การออกแบบ คือ การให้ข้อมูลหรือสารสนเทศที่สำคัญแก่ผู้ใช้งาน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานในลำดับการทำงานอื่นต่อไป โดยจะต้องดูข้อมูลง่าย และได้ข้อมูลที่ถูกต้อง รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.4 การออกแบบส่วนแสดงผลลัพธ์การทำงาน (Output) 1.4.2 ลักษณะการใช้งานของส่วนแสดงผลลัพธ์ 1. รายงาน (Report) และเอกสาร (Document) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1) สำหรับการใช้งานภายในองค์กร ได้แก่ - รายงานสรุปผลสำหรับผู้บริหาร - รายงานแสดงข้อมูลที่กรองข้อมูลที่ไม่ต้องการออก - รายงานแสดงรายละเอียด สำหรับตรวจสอบการปฏิบัติงาน รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.4 การออกแบบส่วนแสดงผลลัพธ์การทำงาน (Output) 1.4.2 ลักษณะการใช้งานของส่วนแสดงผลลัพธ์ 1. รายงาน (Report) และเอกสาร (Document) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1) สำหรับการใช้งานภายนอกองค์กร ได้แก่ - การออกใบเสร็จรับเงิน - การออกหนังสือการแจ้งชำระหนี้ - เอกสารสำหรับแสดงรายละเอียดการคำนวณภาษีอากร - เอกสารอื่นๆ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.4 การออกแบบส่วนแสดงผลลัพธ์การทำงาน (Output) 1.4.2 ลักษณะการใช้งานของส่วนแสดงผลลัพธ์ 2. ข้อความ (Message) 1) สื่อสารกับผู้ใช้ขณะใช้ระบบ 2) แสดงสถานะปัจจุบันขณะระบบกำลังทำงาน 3) ยืนยันการสิ้นสุดในแต่ละขั้นตอนในระบบ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.4 การออกแบบส่วนแสดงผลลัพธ์การทำงาน (Output) 1.4.3 ข้อควรพิจารณาสำหรับการออกแบบการแสดงผลลัพธ์ 1. ผู้รับสาร 2. ลักษณะการใช้ประโยชน์จากสาร 3. รายละเอียดข้อมูลหรือสารสนเทศที่สื่อสารออกมา 4. ความถี่ในการสื่อสาร 5. ชนิดของสื่อหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับสื่อสาร - Hard Copy - Soft Copy รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.5 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) 1.5.1 การจัดทำข้อกำหนดลักษณะความต้องการของโปรแกรม 1. คุณลักษณะประโยคที่มีคุณภาพ 1) ถูกต้อง 2) เป็นไปได้ 3) จำเป็น 4) ให้ลำดับความสำคัญ 5) ไม่กำกวม 6) ตรวจสอบได้ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.5 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) 1.5.2 การออกแบบโครงสร้างให้กับโปรแกรม 1. แต่ละโมดูลมีความเป็นหนึ่งเดียวสูง (High Cohesion) คือ มีความเฉพาะเจาะจงในการทำงานในโมดูลแต่ละโมดูลมีความเป็นอิสระต่อกัน 2. แต่ละโมดูลมีความสัมพันธ์กันแบบหลวม (Loosely Coupled) แม้ว่าในแต่ละโมดูลจะมีความเป็นอิสระต่อกันสูง แต่การทำงานของโปรแกรมก็ยังต้องอาศัยให้แต่ละโมดูลทำงานร่วมกัน นั้นคือมีความสัมพันธ์ต่อกัน (Coupled) ดังนั้นการออกแบบโมดูลต้องระวังการอิงตรรกะซึ่งกันและกัน หรือหากจำเป็นต้องมีก็ต้องอิงกันให้น้อยที่สุด รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

1. การออกแบบ 1.5 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) 1.5.3 จัดทำแผนผังโครงสร้างของโปรแกรม คือใช้เป็นภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโมดูลในโปรแกรม ได้แก่ 1. การส่งผ่านข้อมูล (Passing Data) 2. การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง (Structure Programming) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.1 การจัดวางระบบคอมพิวเตอร์ 2.1.1 วิธีการจัดหาคอมพิวเตอร์ 1. การจัดซื้อ (Purchase) 2. การเช่าซื้อ (Leasing) 3. การเช่าซื้อ (Rental) 2.1.2 นโยบายการดูแลคอมพิวเตอร์ รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.2 การเลือกการสื่อสารข้อมูล 2.2.1 ลักษณะสถาปัตยกรรมเครือข่าย 1. คุณสมบัติการทำงาน (Specification) - ความเร็วในการเชื่อมต่อ - Protocol 2. รูปแบบของสถาปัตยกรรม - Centralized - File Server - Client-Server 3. นโยบายด้านความปลอดภัย (Security Policy) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.2 การเลือกการสื่อสารข้อมูล 2.2.2 การทำงานร่วมกับระบบอื่นที่มีอยู่แล้ว (Compatibility) ในบางองค์กรอาจมีระบบงานบางอย่างอยู่แล้ว และต้องการพัฒนาระบบเพิ่มเติมที่ทำงานร่วมกับระบบที่มีอยู่ เช่น ใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน หรือการนำผลลัพธ์หนึ่งมาทำหน้าที่เป็นข้อมูลของระบบใหม่ การออกแบบระบบใหม่ต้องไม่สร้างความเสียหายหรือเป็นการรบกวนการทำงานระบบงานอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 การเลือกมาตรฐานฮาร์ดแวร์และระบบเครือข่าย 2.2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ - CPU - RAM - HDD - CD\DVD , Card Reader - Monitor - VGA รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 การเลือกมาตรฐานฮาร์ดแวร์และระบบเครือข่าย 2.2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ - CPU - RAM - HDD - CD\DVD , Card Reader - Monitor - VGA รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 การเลือกมาตรฐานฮาร์ดแวร์และระบบเครือข่าย 2.2.2 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) แบ่งเป็น 1. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System) โดยมีความสามารถในการจัดการระบบเครือข่ายและทำหน้าที่บริการด้านต่างๆ เช่น ระบบฐานข้อมูล การควบคุมการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การจัดการด้านความปลอดภัย 2. ระบบปฏิบัติการสำหรับเครือลูกข่าย (Client Operating System) โดยมีความสามารถในการเชื่อมต่อและสื่อสารข้อมูลกับเครือข่ายและรับบริการด้านต่างๆ ในระบบเครือข่าย รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

2. การออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 การเลือกมาตรฐานฮาร์ดแวร์และระบบเครือข่าย 2.2.3 อุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่าย (Network Device) แบ่งเป็น 1. แผงเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card) เช่น LAN Card 2. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ เช่น ฮับ (Hub) แอ็คเซสพอยต์ (Access Point) เราเตอร์ (Router) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.1 การทดสอบข้อกำหนดและการวางแผน 3.1.1 การจัดทำระบบต้นแบบ (Prototype) 1. ทำแบบมีการพัฒนา (Evolution Prototype) 2. ทำแล้วทิ้ง (Throwaway Prototype) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.1 การทดสอบข้อกำหนดและการวางแผน 3.1.2 การเลือกเครื่องมือที่ใช้พัฒนาระบบ (Development Tools) 1. ความสามารถในการติดต่อและการจัดการฐานข้อมูลที่ใช้ในระบบ 2. ความสามารถในการสร้างโปรแกรมบนสภาพแวดล้อมทางเทคนิคที่ กำหนด 3. รองรับแนวคิดสำหรับการสร้างโปรแกรมที่ออกแบบไว้ได้ 4. การสนับสนุนจากผู้ผลิต เช่น การฝึกอบรม การปรับปรุงพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่ต่อเนื่อง รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.2 การเขียนโปรแกรมและการทดสอบ มี 2 วิธี 3.2.1 วิธีทดสอบแบบกล่องทึบ (Black Box Testing) เป็นการตรวจดูผลลัพธ์ที่ออกมาว่าถูกต้องหรือไม่เมื่อนำข้อมูลเข้าไปในระบบโดยไม่ต้องสนใจว่ากระบวนการในระบบทำงานอย่างไร โดยอาจทดสอบนำข้อมูลเข้าแบบกรณีต่างๆ แล้วเปรียบเทียบกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.2 การเขียนโปรแกรมและการทดสอบ มี 2 วิธี 3.2.2 วิธีทดสอบแบบกล่องใส่ (White Box Testing) เป็นการทดสอบภายในโปรแกรม ได้แก่ - การเขียนโปรแกรม - การออกแบบเชิงตรรกะหรืออัลกอริธึมของโปรแกรม - การตรวจสอบประสิทธิภาพทางเทคนิค - การใช้งานหน่วยความจำที่เหมาะสม รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.3 การทดสอบระบบทั้งหมด 1. การทดสอบหน่วยย่อย (Unit Testing) 2. การทดสอบการรวมกันของแต่ละหน่วยย่อย (Integration Testing) 3. การทดสอบทั้งระบบ (System Testing) 4. การทดสอบการยอมรับระบบ (Acceptance Testing) - การทดสอบบนสภาพแวดล้อมจำลอง (Alpha Testing) - การทดสอบบนสภาพแวดล้อมจริง (Beta Testing) รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.4 การฝึกอบรมผู้ใช้ 1. เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ จะเน้นไปใน 2 ลักษณะใหญ่ คือ 1.1 การปรับแต่งค่าการทำงานของระบบ - การกำหนดสิทธิ์การใช้งานระบบ - การหยุดใช้งานบางโมดูลชั่วคราว - การตรวจสอบการทำงานตามช่วงเวลาที่กำหนด 1.2 การกู้คืนการทำงานให้กับระบบ - การนำข้อมูลที่เผลอลบออกจากระบบให้กลับมา - การตรวจสอบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การนำไปใช้ 3.4 การฝึกอบรมผู้ใช้ 2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ - การใช้งานกับหน้าจอต่างๆ - การบันทึกแก้ไขข้อมูล - การฝึกอบรมทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้น รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

การออกแบบระบบและนำไปใช้ จบการนำเสนอ บทที่ 14 การออกแบบระบบและนำไปใช้   รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบ