การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการตลาดของคู่แข่งขัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
บริษัท สุรีย์ภรณ์ไหมไทย จำกัด
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
ตำแหน่งสินค้าในใจผู้ บริโภค
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ระบบเศรษฐกิจ.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
MK201 Principles of Marketing
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 3 สภาพแวดล้อมของการจัดการธุรกิจ
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
Marketing.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
รักษ์โลก ลดร้อน ด้วยสองมือ EENT.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการตลาดของคู่แข่งขัน บทที่ 6 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการตลาดของคู่แข่งขัน

อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการแข่งขัน 1. ระดับการแข่งขันระหว่างคู่แข่งขัน 2.ภัยจากคู่แข่งรายใหม่ 3.ภัยจากสินค้าหรือบริการที่ทดแทนกัน 4.อำนาจการต่อรองจากลูกค้า 5.อำนาจในการต่อรองของผู้จำหน่ายวัตถุดิบ

ระดับการแข่งขันระหว่างคู่แข่งขัน

ภัยจากคู่แข่งรายใหม่

ภัยจากสินค้าหรือบริการที่ทดแทนกัน

การระบุสภาวการณ์แข่งขัน 1.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ รูปแบบของการแข่งขันในตลาดที่มีผู้ ซื้อและผู้ขายสินค้าและบริการชนิดเดียวกันหลายราย 2.ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด แข่งขันลักษณะนี้เกิดขึ้นบ่อยมาก ในปัจจุบัน มีสินค้าและบริการคล้ายคลึงกันหลายแบบ และสนอง ความต้องการของตลาดส่วนเดียวกัน 3.ตลาดผู้ขายน้อยราย เป็นลักษณะตลาดที่มีผู้ขายตั้งแต่ 2 คนขึ้น ไป ส่วนมากเป็นผู้ขายที่มีเงินทุนมากในการกำหนดธุรกิจ 4.ตลาดผูกขาด ตลาดของผู้ขายรายเดียว เช่น รัฐวิสาหกิจขนาด ใหญ่

การแข่งขัน 4 ระดับของ ฟิลิป คอตเลอร์ การแข่งขัน 4 ระดับของ ฟิลิป คอตเลอร์ การแข่งขันตรายี่ห้อ การแข่งขันอุตสาหกรรม การแข่งขันด้านรูปแบบ การแข่งขันเพื่อช่วงชิงลูกค้าในธุรกิจ เดียวกัน

แนวความคิดทางการแข่งขันในตลาด วิธีการมองธุรกิจต่าง ๆ ที่ผลิตสินค้าเดียวกัน เป็นวิธีการมองแบบมุมกว้างโดยเน้นที่การผลิตเป็น หลัก นอกจากนั้นการมองธุรกิจอาจมองในแง่ของการ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าการระบุคู่แข่งขัน เป็นเรื่องที่สำคัญมาก โดยการวิเคราะห์คู่แข่งขัน ทางการตลาด

การกำหนดวัตถุประสงค์ของคู่แข่งขัน 1.สร้างยอดขาย 2.เพิ่มส่วนแบ่งตลาด 3.เพิ่มความสามารถในการทำกำไร 4.การตั้งราคา 5.การจัดจำหน่าย 6.การส่งเสริมการตลาด

การประเมินสภาพแวดล้อมของคู่แข่งขัน SWOT

SWOT เป็นสิ่งที่ธุรกิจนำมาวิเคราะห์ และประเมินเพื่อใช้ในการ วางแผนและกำหนดกลยุทธ์ การตลาด

Strength สินค้ามีคุณภาพดี บรรจุภัณฑ์ทันสมัย เครื่องมือมีประสิทธิภาพ มีการประชาสัมพันธ์ที่ดี ส่วนแบ่งทางการตลาดสูง ต้นทุนการผลิตสินค้าต่ำ มีความสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า

Strength ความชำนาญของบุคลากร ความแข็งแกร่งของตราสินค้า ทำเลที่ตั้งของกิจการที่เหมาะสม ระบบตรวจสอบคุณภาพที่ทันสมัย ภาพพจน์ของสินค้าและบริษัทดี มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง

Weakness สินค้ามีให้เลือกน้อย - สายผลิตภัณฑ์สั้น สินค้ามีให้เลือกน้อย - สายผลิตภัณฑ์สั้น รูปแบบสินค้าไม่ทันสมัย - จำนวนแรงงานไม่เพียงพอ กำลังการผลิตต่ำ - ไม่มีงบประมาณโฆษณา ต้นทุนการผลิตสูง ช่องทางการจัดจำหน่ายไม่เพียงพอ ราคาสินค้าแพงกว่าคู่แข่ง เงินทุนไม่เพียงพอ สายผลิตภัณฑ์สั้น

Opportunity การแข่งขันยังมีน้อย จำนวนผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ เศรษฐกิจมีอัตราเจริญเติบโตสูง เทคโนโลยีทันสมัย คู่แข่งขันเลิกกิจการ การเติบโตของตลาดอย่างต่อเนื่อง

Threat ราคาของต้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น มีกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับใหม่ มีสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ เศรษฐกิจอยู่ในขั้นต่ำ จำนวนผู้บริโภคลดน้อยลง คู่แข่งขันรายใหม่เข้ามาในตลาด คู่แข่งขันทุ่มการโฆษณา สินค้าถูกกดราคาจากคนกลาง

ดำเนินกิจกรรมไม่สำเร็จ SWOT Analysis สภาพแวดล้อม ภายใน   Strength (S) จุดแข็ง จุดเด่น ข้อได้เปรียบ Weakness (W) จุดอ่อน ข้อเสียเปรียบ ภายนอก Opportunity (O) โอกาส สิ่งเกื้อกูล ที่จะดำเนินกิจกรรม Threats(T) อุปสรรคที่จะทำให้ ดำเนินกิจกรรมไม่สำเร็จ

1. กลยุทธ์วิเคราะห์จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 2 1.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 2.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดอ่อนและโอกาส (WO) 3.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดแข็งและอุปสรรค (ST) 4.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาส (SO)

นำจุดแข็งไปเพิ่มโอกาส นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค TWOS Matrix TWOS Matrix จุดแข็งที่สำคัญ จุดอ่อนที่สำคัญ โอกาสที่สำคัญ   S–O Strategies นำจุดแข็งไปเพิ่มโอกาส W–O Strategies นำโอกาสไปลดจุดอ่อน อุปสรรคที่สำคัญ S–T Strategies นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค W–T Strategies ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค

TWOS Matrix การกำหนดแผนกลยุทธ์จากการวิเคราะห์ TOWS Matrix กลยุทธ์ WT รีบสลาย จุดอ่อน และหลีกเลี่ยง อุปสรรค กลยุทธ์ WO เลี่ยงจุดอ่อน นำความสามารถเฉพาะอย่างมาใช้ให้ ได้เปรียบในส่วนที่มีโอกาสสูง กลยุทธ์ ST เอาจุดแข็งสูงสุดไปข่มอุปสรรค เช่น ใช้ จุดแข็ง ทางเทคโนโลยี การจัดการเพื่อจัดการอุปสรรคที่มีคู่แข่งมาก กลยุทธ์ SO เป็นสถานการณ์ที่บริษัทต้องการมากที่สุดโดยใช้ จุดแข็งและโอกาสที่ดี สร้างแผนรุก

การออกแบบกลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน หลักกลยุทธ์ทางการตลาด 1. การดำรงจุดมุ่งหมาย 2. ความคิดริเริ่ม 3. การรวมกำลัง 4. ประหยัดทรัพยากร 5. การแปรขบวนหรือการเคลื่อนย้ายกำลัง 6. การมีเอกภาพในการบังคับบัญชา 7. การประสานงาน

การออกแบบกลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน หลักกลยุทธ์ทางการตลาด 8. ความปลอดภัย 9. การลวง 10. ความง่าย 11. ความอ่อนตัว 12. การแสวงหาประโยชน์

หลักเกณฑ์บทบาทที่มีอยู่ในตลาดเป้าหมาย ผู้นำตลาด มีส่วนครองตลาดมากที่สุด ผู้ท้าชิง มีส่วนครองตลาดรองมาเป็นอัดดับสองและพยายามแข่งขันเพื่อ เป็นที่หนึ่งในตลาด ผู้ตาม มีส่วนครองตลาดเป็นอันดับสาม และต้องรักษารวมถึงเพิ่มส่วน ครองตลาด ผู้ขายในตลาดส่วนย่อย การทำธุรกิจกับตลาดส่วนย่อยที่กิจการที่ใหญ่ กว่าสนใจที่จะเข้าสู่ตลาดส่วนนี้

ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้ แนวทางที่ 1 การขยายอุปสงค์ในตลาด 1. แนวความคิดสร้างผู้ใช้รายใหม่ กลยุทธ์เจาะตลาด เป็นกลยุทธ์ที่จะทำอย่างไรให้ ลูกค้ากลุ่ม ปัจจุบัน รู้จัก และซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในปัจจุบันเพิ่มมากขึ้น กลยุทธ์ตลาดใหม่ กลยุทธ์ขยายเขตภูมิศาสตร์ วิธีใช้ใหม่ การใช้มากขึ้น

ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้ แนวที่ 2 รักษาส่วนแบ่งการตลาดที่มีอยู่ 1. กลยุทธ์ตั้งรับ เน้นรักษาฐานลูกค้าที่มีอยู่ 2. กลยุทธ์ตั้งรับเพื่อป้องกันด้านข้าง ป้องกันจุดอ่อนให้เหลือน้อยที่สุด 3. กลยุทธ์การตั้งรับโดยการชิงตีก่อน 4. กลยุทธ์การตั้งรับโดยการตีต่อต้าน หาวิธีการโจมตีพร้อมกับการตั้ง รับ 5. กลยุทธ์การตั้งรับโดยมีหน่วยเคลื่อนที่เร็ว การจัดกิจกรรมพิเศษใน งานแสดงสินค้าต่าง ๆ 6. กลยุทธ์การถอยตามแผน เลิกจำหน่ายในจุดที่ทนต่อการโจมตีของคู่ ขันไม่ได้

ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้ เพิ่มส่วนแบ่งตลาดจากส่วนตลาดเดิม กลยุทธ์ของผู้ท้าชิง 1. กลยุทธ์การตีด้านหน้า ปะทะจุดเด่นคู่แข่งขัน และใครอดทน มากกว่าก็จะเป็นผู้ชนะ 2. กลยุทธ์การตีด้านข้าง การเข้าตีจุดอ่อนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบ โดยตรง 3. กลยุทธ์การตีโอบ ตีผู้นำหลายด้านเข้าตีแบบครอบคลุม จนทำให้ เกิดจุดอ่อนขึ้น 4. กลยุทธ์การตีลึกในตลาดอื่น การนำทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อออก ผลิตภัณฑ์ใหม่แทนผลิตภัณฑ์เดิม เช่น ส้มแขก ช่วยในการระบาย 5. กลยุทธ์การโจมตีแบบกองโจร ก่อกวนคู่แข่งขัน

ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้ เพิ่มส่วนแบ่งตลาดจากส่วนตลาดเดิม กลยุทธ์ของผู้ตาม 1. ผู้ลอกเลียนแบบ 2. ผู้ถอดแบบ ถอดคุณสมบัติที่ดีของผู้นำตลาดออกมา ให้หมด 3. ผู้ปลอมแปลง เพิ่มความแตกต่างปลอมแปลง บางอย่างให้แตกต่างจากคู่ขันแข่ง 4. ผู้ปรับแต่ง การดัดแปลง ปรับปรุงให้มีจุดเด่นมากขึ้น

กลยุทธ์ผู้ขายในตลาดส่วนย่อย นำเสนอผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภค ต้องการจริง รูปแบบผลิตภัณฑ์ต้องมีความเฉพาะเจาะจงเพียงพอ การควบคุมกระบวนการผลิตให้มีต้นทุนที่ต่ำที่สุด การผลิตที่มีจำนวนมากเพียงพอ การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ