การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน ชายแดนไทย- เมียนมา
Man การดำเนินการในปี ๒๕๕๘ กลุ่ม อสต. (อาสาสมัครสาธารณสุขต่างชาติ), พสต. (พนักงานสุขภาพชุมชนต่างชาติ) และ อสม. Buddy: เป็นหลักสูตร ๒-๓ วัน เน้นในพื้นที่หมู่บ้านคู่ขนาน (Twin village) โดยเน้นในเรื่องต่อไปนี้ SRRT, EPI, Information, MCH และรักษาพยาบาลเบื้องต้น ฯลฯ ข้อดี - Detect โรค หรือการเจ็บป่วยได้เร็ว (การแจ้งเหตุให้เร็วที่สุด) - อำนวยความสะดวกในการทำงานของ จนท.สธ. เช่น เป็นล่าม การเตรียมความพร้อมในการให้บริการ ฯลฯ - การคัดกรองโรค NCD
Man (๒) ข้อจำกัด - การเคลื่อนย้ายที่อยู่ ทำให้ต้องอบรมเพิ่มเติมทุกปี - ยังไม่มีการรายงานผลงานของ อสต., พสต. และอสม. Buddy ที่เป็นรูปธรรมชัดเจน แนวทางการดำเนินงานในปี ๒๕๕๙ ๑. อสต., พสต. และอสม. Buddy - การอบรมฟื้นฟู อสต., พสต. และอสม. Buddy - จัดทำระบบรายงานที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น - การจัดทำหลักสูตรที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่
Man (๓) แนวทางการดำเนินงานในปี ๒๕๕๙ ๒. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข: ทั้งในกลุ่มแพทย์ พยาบาล และ จนท.รพ.สต. เน้นในพื้นที่หมู่บ้านคู่ขนาน (Twin village) โดยเน้นในเรื่องต่อไปนี้ SRRT, EPI, Malaria, Rabies, Information etc.
M&E แนวทางการดำเนินการในปี ๒๕๕๙ - ประเมินผลการพัฒนาเครือข่าย อสต., พสต., อสม. buddy และเจ้าหน้าที่ เป้าหมายการประเมินในปีที่ ๑ สามารถแจ้งข่าวสถานการณ์โรคในพื้นที่ให้ทันเวลา เป้าหมายการประเมินในปีที่ ๒ - สามารถแจ้งรายงานสถานการณ์โรคในพื้นที่ให้ทันเวลาผ่านระบบรายงานทางเอกสารหรือเทคโนโลยี เช่น การรายงานโรคที่ต้องเฝ้าระวัง - พัฒนาระบบรายงานที่เป็นภาษาถิ่น
Information ๑. ระบบรายงานโรค ใช้ในจังหวัดที่เป็น Twin village (MBDS) ๒. ระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนงาน สาธารณสุขชายแดน ๒.๑ ระบบ manual (family folder) ๒.๒ โปรแกรมพื้นฐานที่มีอยู่ JHCIS, HOS OS, HOSxp PCU