บทบาทและผลกระทบต่อประเทศไทย ในด้านการค้าโลก โดย อัญชนา วิทยาธรรมธัช ผู้ตรวจราชการกระทรวงพาณิชย์ โครงการฝึกอบรม หลักสูตร นักปกครองระดับสูง (นปส ) รุ่นที่ ๕๗ ณ วิทยาลัยมหาดไทย อ.บางละมุง จ.ชลบุรี ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔
ประเด็น ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศต่อเศรษฐกิจไทย กระแสโลกาภิวัติ : สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจการค้าโลก ใครคือ Key players ในเศรษฐกิจโลก บทบาทไทยในเวทีการค้าโลก (WTO/FTA/ AEC ) ผลกระทบของการเปิดเสรีต่อระบบเศรษฐกิจไทย - เศรษฐกิจ / การค้า /ผู้บริโภค - ธุรกิจข้ามชาติ ภาครัฐและเอกชนต้องปรับตัวอย่างไร
ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศ ต่อเศรษฐกิจไทย
ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศต่อเศรษฐกิจไทย ไทยพึ่งพาการส่งออกสินค้าและบริการ ร้อยละ 74 ของ GDP มูลค่าการค้าคิดเป็นร้อยละ 1.18 ของการค้าโลก สินค้าออกของไทยมีส่วนแบ่งในตลาดโลกเพียงร้อยละ 1.15 และเป็นลำดับที่ 23 การนำเข้าคิดเป็นร้อยละ 1.1 ของการนำเข้ารวมของโลก และเป็นลำดับที่ 22 ตลาดส่งออกหลักของไทย ได้แก่ อาเซียน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และจีน ฯลฯ ปี 2553 ส่งออกมูลค่า 195,311 ล้านเหรียญสหรัฐฯเพิ่มขึ้น 28%
สถานะการค้าของไทยในตลาดโลก อินเดีย 1.23% เกาหลีใต้ 2.83% ไทย 1.18% สหภาพยุโรป41.97% สหรัฐฯ 13.38% มาเลเซีย 1.33% สิงคโปร์ 2.23% จีน 7.38% ญี่ปุ่น 5.77% การค้ารวมของไทยในโลก 227,960 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (1.18% ของการค้าโลก) ส่งออก 109,848 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (1.17%) นำเข้า 118,112 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (1.20%)
ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2552 Export Value (Mil. USD) USA 10.9% 16,662 22.4% EU 11.9% 18,155 Japan 10.3% 15,732 19.6% ASEAN 21.3% 32,491 17.5% China 10.6% 16,124 13.8% 1.2% Others 35% 53,338 25.5% Total Export 32,609 Mil. USD 152,502 Mil. USD Note: 1) AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) 2) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.2553 (2010)
ตลาดนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2552 Import Value (Mil. USD) Japan 18.7% 25,024 29.3% EU 9.1% 12,151 USA 6.3% 8,373 14.4% ASEAN 18.5% 24,700 11.7% China 12.7% 17,029 13.6% 3.0% Others 34.7% 46,519 28.0% Total Import 40,615 Mil. USD 133,796 Mil. USD Note: 1) AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) 2) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.2553 (2010)
การส่งออกช่วยเศรษฐกิจอย่างไร ปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้มีการจ้างงานและมีการใช้วัตถุดิบในประเทศ กระตุ้นให้ราคาสินค้าเกษตรสูงขึ้น เพิ่มการบริโภคและการซื้อขายในประเทศ เพิ่มคุณภาพชีวิต ปัญหาคือ ตลาดโลกมีการแข่งขันสูงมาก ทำอย่างไรจึงจะรักษาตลาดได้
มองสิ่งที่เกิดขึ้นจาก ข้อเท็จจริง ไม่ใช่ความเชื่อ ทิศทางในอดีต ยุคล่าอาณานิคมในอเมริกาใต้และแอฟริกา เหรียญเงินสเปน สเปนขนแร่เงินจากอเมริกาใต้ อังกฤษปล้นเงินสเปน สเปนขนกองทัพเรือไปบุกอังกฤษ แต่แพ้ ยุคล่าอาณานิคมในเอเชีย สงครามฝิ่น อังกฤษขาดดุลการค้ากับจีนมาก จึงนำฝิ่นจากอินเดียมาขายให้จีน เพื่อหารายได้ชดเชยการขาดดุล ชาซีลอน การขโมยพันธุ์ชาจากจีนไปปลูกที่ศรีลังกา ทั้งๆที่จีนมีกฎหมายห้ามการนำพันธ์ชาออกนอกประเทศ มองสิ่งที่เกิดขึ้นจาก ข้อเท็จจริง ไม่ใช่ความเชื่อ ต้องพึ่งพาตัวเองทาง ความคิดในการวาง นโยบายและมาตรการ ไม่เชื่อใครง่ายๆ อีก ต่อไป ต้องมีความสามารถใน การเข้าใจตัวเอง และ กล้าที่จะทำ ต้องเป็นน้ำหนึ่งใจ เดียวกัน คือมีวิธี ประสานงานทำงาน ร่วมกัน
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจการค้าโลกในปัจจุบันและอนาคต กระแสโลกาภิวัฒน์ส่งผลให้มีการเคลื่อนย้ายเสรีทั้งเงินทุน แรงงาน สินค้า บริการ และเทคโนโลยี การค้ามีแนวโน้มขยายตัวและมุ่งเปิดเสรีมากขึ้น มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับทวิภาคีทั่วโลก มาตรการที่มิใช่ภาษีจะถูกนำมาใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้ามากขึ้น เช่น มาตรการสุขอนามัย (SPS) และมาตรการAD / CVD / SG เป็นต้น แรงงาน ทรัพย์สินทางปัญญา และสิ่งแวดล้อม จะถูกโยงกับการเปิดเสรี เทคโนโลยีจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการสร้างมูลค่าการค้า
Key Players การค้าโลก เอเชีย มีบทบาทมากขึ้นต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของโลก โดยเฉพาะ จีน อาเซียน และอินเดีย จีน - กลายเป็นประเทศที่มีศักยภาพการผลิตและครองส่วนแบ่ง ตลาดสูงในทุกสินค้า และเป็นผู้บริโภคทรัพยากรที่สำคัญ - คาดว่าในปี 2020-2026 เศรษฐกิจของจีนจะใหญ่กว่าสหรัฐอเมริกา อินเดีย จะมีอิทธิพลมากขึ้นในด้านเศรษฐกิจ โดยในปี ค.ศ. 2025 อินเดีย จะกลายเป็นตลาดผู้บริโภคใหญ่อันดับ 5 ของโลก อเมริกา ยังคงมีสถานะมหาอำนาจทางเศรษฐกิจของโลก และเป็นผู้บริโภคอันดับหนึ่ง BRICs Brazil ,Russia, India .China จะเป็นตลาดใหม่ที่ทวีความสำคัญมากขึ้น จีนและอินเดีย จะมีขนาดเศรษฐกิจรวมกันกว่า 50% ของ Global GDP ในปี 2050
Brazil-Russia-India-China 5 ประเทศแรก มี เอเชีย 3 ประเทศ เราคือ BRIC “WE NEED OUR SHARES” 1China 5Brazil Brazil-Russia-India-China (5) (6) (3) (1) 5 ประเทศแรก มี เอเชีย 3 ประเทศ 60% ของเศรษฐกิจโลก 12
But… keep my money safe 13
ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก ๕ บริบทของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก ๕ บริบทของการเปลี่ยนแปลง 5 บริบทการเปลี่ยนแปลงหลัก การรวมตัวของกลุ่มเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงในตลาดการเงินโลก การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภค ประชากรและสังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รูปแบบการบริโภค
รูปแบบการบริโภค ผู้บริโภคให้ความสนใจสุขภาพและอาหารมากขึ้น 1. โอกาสการขยายตลาดสินค้าและบริการเพื่อสุขภาพ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างคุณค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 2. ป้องกันความเสี่ยงและแก้ไขการแพร่ขยายของวัฒนธรรมต่างชาติที่ก่อให้เกิดค่านิยมและการบริโภคที่ไม่พึงประสงค์ ผู้บริโภคให้ความสนใจสุขภาพและอาหารมากขึ้น อาหารที่ไม่ใช้สารเคมี ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ให้ความสำคัญกับ Food Safety
ระดับของการพัฒนานวัตกรรม ระดับของความเป็นสากล ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน สูง เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ระดับของการพัฒนานวัตกรรม จีน มาเลเซีย อินเดีย ประเทศไทย ต่ำ ต่ำ สูง ระดับของความเป็นสากล
บทบาทไทยในเวทีการค้าโลก
“เจรจาเพื่อขยายการค้าและปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ Regional Bilateral Unilateral JTC FTA
การค้าเสรีเป็นธรรม อย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีแนวคุ้มกัน ร่วมสร้างกฎเกณฑ์ทางการค้า พหุภาคี WTO เสริมสร้างอำนาจต่อรอง ขยายตลาด และแหล่งวัตถุดิบ โลกาภิวัตน์ การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลง การค้าเสรีเป็นธรรม อย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีแนวคุ้มกัน Main Idea: การเจรจาการค้าเสรีในกรอบต่างๆ เป็นเครื่องมือด้านการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ ที่ใช้ในการรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลง และการแข่งขันจากชาติต่างๆ Detail: ไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก และการเจรจาการค้าเสรีในกรอบพหุภาคีเพื่อร่วมสร้างกฎเกณฑ์ทางการค้าโลก สำหรับการเจรจาระดับภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็น ASEAN, APEC, ASEM มีส่วนช่วยให้ไทยมีอำนาจต่อรองมากขึ้น เป็นโอกาสในการแลกเปลี่ยนแนวความคิดด้านนโยบายการค้าระหว่างประเทศ และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ยังมีส่วนช่วยในการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มอาเซียน ซึ่งถือเป็นตลาด และแหล่งวัตถุดิบที่สำคัญของไทย กรอบทวิภาคี เป็นเครื่องมือที่ไทยใช้ในการช่วงชิงโอกาสทางด้านการค้า ในเชิงของการขยายตลาดการส่งออก ซึ่งสามารถสร้างความได้เปรียบด้านการค้าให้กับไทย เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง สำหรับรายละเอียดการดำเนินงานที่ผ่านมาในแต่ละกรอบ จะมีรายละเอียดโดยสรุป ตามที่อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ และรองปลัดกระทรวงการต่างประเทศจะได้นำเสนอต่อไป ภูมิภาค ASEAN,APEC, ASEM เสาะหาโอกาสทางการส่งออก ยึดตลาดใหม่ ช่วงชิงโอกาส สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ ทวิภาคี
WTO สมาชิก 153 ประเทศ - เวทีเจรจาลดอุปสรรค / ข้อกีดกันทางการค้า - สนับสนุนการค้าเสรี - แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง ทางการค้า - กลไกตรวจสอบ ทบทวนนโยบายการค้า สมาชิก 153 ประเทศ ไทย : สมาชิกลำดับที่ 59 จัดตั้ง 1 มกราคม 2538 WTO องค์การการค้าโลก World Trade Organization เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากความตกลง GATT เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2538 เมื่อนับถึงปีนี้ WTO ดำเนินการมาครบ 10 ปี เมื่อวันที่ 1 มกราคม ที่ผ่านมา WTO คืออะไร เป็นเวทีเจรจาลดอุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้า สนับสนุนให้การค้ามีความเป็นเสรียิ่งขึ้น โดยอยู่บนพื้นฐานของการแข่งขันที่เป็นธรรม แก้ปัญหาข้อขัดแย้งทางการค้าระหว่างกัน เป็นกลไกในดารตรวจสอบทบทวนนโยบายการค้าของประเทศสมาชิก
หลักการสำคัญ การไม่เลือกปฏิบัติ (Most Favoured Nation :MFN) การปฏิบัติด้วยการอนุเคราะห์ยิ่ง(National Treatment) การเปิดให้การค้าเป็นไปอย่างเสรียิ่งขึ้น ความโปร่งใส (Transparency ) ส่งเสริมให้การแข่งขันเป็นไปอย่างยุติธรรม ให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศกำลังพัฒนา
เรื่องสำคัญที่เจรจาใน WTO การเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรม การเปิดตลาดสินค้าเกษตร สิ่งทอและเสื้อผ้า มาตรการสุขอนามัยพืชและสัตว์ การต่อต้านการทุ่มตลาด การค้าบริการ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า
สถานะการเจรจาการค้าหลายฝ่าย (WTO) การเจรจาการค้าหลายฝ่ายในรูปพหุภาคี มีมาแล้วทั้งหมด 8 รอบ ปัจจุบันอยู่ในช่วงการเจรจารอบที่ 9 เรียกว่า รอบโดฮา ถือเป็นการเจรจารอบสำคัญ เรื่องที่เจรจา ได้แก่ สินค้าเกษตร สินค้าที่มิใช่เกษตร (Non- Agriculture ) สินค้าบริการ การอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation)
บทบาทของไทยในเวที WTO ไทยให้ความสำคัญอย่างมากต่อเวทีการค้าในระดับพหุภาคี ไทยเป็นผุ้ผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมรายใหญ่ของโลก ในอดีต ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ เคยได้รับเลือกเป็นผู้อำนวยการใหญ่ของ WTO ขณะนี้ผู้แทนไทยก็ได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการการค้าและการพัฒนาสมัยพิเศษ ก่อนหน้านี้ไทยเคยเป็นประธานคณะกรรมการด้านสินค้าเกษตร ไทยร่วมกับกลุ่มเครนส์ผลักดันการเจรจาสินค้าเกษตรให้มีข้อยุติ หากการเจรจารอบโดฮาจบในปี 2554 ไทยจะได้ประโยชน์มาก โดยเฉพาะเรื่องการลดการอุดหนุนสินค้าเกษตร การเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรม การมีกฎและระเบียบที่ชัดเจนโปร่งใส เช่น การตอบโต้การทุ่มตลาด เป็นต้น
อาเซียนและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC One Vision, One Identity, One Community
ASEAN : Association of South East Asian Nations อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งเมื่อปี 2510 (1967) จะครบรอบ 42 ปี ในสิงหาคม 2552 จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ ปี 2510 ปี 2527 อาเซียน 6 สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก ปี 2540 ปี 2542 ปี 2538 สมาชิกใหม่ CLMV
ความสำคัญของอาเซียน 352.5 11.2 14.6 Indicators (2008) ASEAN Thailand ประชากร (ล้านคน) 583 66 GDP (bl.USD) 1,504.2 (2.45% of world GDP) 273.7 (0.45% of world GDP) Total Trade (bl.USD) 1,710.4 352.5 FDI (bl.USD) 69.5 11.2 Tourists (ล้านคน) 65.1 14.6 อาเซียนเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับหนึ่งของไทยนำหน้าตลาดดั้งเดิมอย่างเช่นสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น และยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในปีที่แล้ว (2552) ไทยเราส่งออกไปอาเซียนมีมูลค่ากว่า 32,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีการนำเข้าประมาณ 24,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เบ็ดเสร็จเราเป็นฝ่ายได้ดุลการค้าถึงกว่า 8,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงได้ให้ความสำคัญกับอาเซียนในฐานะมิตรประเทศที่มีความใกล้ชิดกับไทยไม่ว่าจะในด้านสภาพภูมิศาสตร์ ความใกล้เคียงกันในด้านสังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ในด้านการค้าและการลงทุนอาเซียนจัดเป็นตลาดสำคัญและมีศักยภาพ - ด้วยประชากรรวมกันกว่า 580 ล้านคน - มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ รวมกันกว่า 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ - การค้าระหว่างประเทศของอาเซียนในปี 2551 สูงถึง 1.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ - มี FDI หรือการลงทุนทางตรงที่เข้ามาในภูมิภาคสูงถึง 69,480 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2551 และคาดว่าน่าจะขยายตัวมากขึ้น เนื่องจากการปรับปรุงความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน Source: ASEAN Secretariat 2008
ตัวชี้วัดสำคัญของอาเซียน (2009) หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ GDP ส่งออก FDI 1. อินโดนีเซีย 546,527 1. สิงคโปร์ 269,191 สิงคโปร์ 16,381 2. ไทย 264,230 2. มาเลเซีย 156,704 2. เวียดนาม 7,650 3. มาเลเซีย 191,618 3. ไทย 151,365 5,518 4. สิงคโปร์ 177,569 4. อินโดนีเซีย 116,509 5,299 5. ฟิลิปปินส์ 161,149 5. เวียดนาม 57,096 1,948 6. เวียดนาม 96,317 6. ฟิลิปปินส์ 38,335 6. มาเลเซีย 1,423 7. พม่า 24,024 บรูไน 7,169 676 8. บรูไน 14,147 8. พม่า 6,341 8. กัมพูชา 515 9. กัมพูชา 10,368 4,359* 9. ลาว 310 10. ลาว 5,742 828* 10. บรูไน 239 GDP : ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ FDI : Foreign Direct Investment ที่มา : ASEAN Secretariat
ASEAN (Association of South East Asian Nations) อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1967(2510) ก่อตั้ง ASEAN 1967(2510) ก่อตั้งโดย 5 ประเทศ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ 1984(2527) ขยายสมาชิก บรูไน ASEAN - 6 1995(2538) ขยายสมาชิก เวียดนาม CLMV 1997(2540) ขยายสมาชิก ลาว พม่า 1999(2542) ขยายสมาชิก กัมพูชา รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศ ประชากร 580 ล้านคน และกำลังมุ่งสู่……AEC 2015(2558) ASEAN Economic Community ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC มุ่งสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน One Vision, One Identity, One Community
ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ปฏิญญา AEC ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน ประชาคม (ASC) กฎบัตรอาเซียน AEC Blueprint Strategic Schedule ปฏิญญา AEC Blueprint ทำไมต้องจัดทำ AEC Blueprint ? - เพื่อกำหนดทิศทาง/แผนงานในด้านเศรษฐกิจที่จะต้องดำเนินงานให้ชัดเจนตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด จนบรรลุเป้าหมาย AEC ในปี ค.ศ. 2015 - สร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกที่จะดำเนินการไปสู่เป้าหมายดังกล่าวร่วมกัน อาเซียนได้จัดทำ Blueprint หรือพิมพ์เขียวเพื่อเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้เป็นรูปธรรมในปีค.ศ. 2015 โดยพิมพ์เขียวนี้จะเป็นแผนงานในภาพรวม ระบุกิจกรรมด้านเศรษฐกิจที่ครอบคลุมการดำเนินงานในด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ และเงินทุนที่เสรีมากขึ้น โดยพิมพ์เขียวดังกล่าวได้ลงนามไปแล้วเมื่อการประชุมผู้นำอาเซียน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2550 ความสำคัญของกฎบัตรอาเซียน การรวมตัวกันของอาเซียนต้องมีข้อผูกพันทางกฎหมาย ไม่ใช่ตกลงกันแล้วไม่ทำในลักษณะ ASEAN Way แบบที่ผ่านๆ มา ซึ่งไม่เหมือนกับภูมิภาคอื่นที่มีระบบ Dispute Settlement ที่เข้มแข็ง ในประเด็นนี้ อาเซียนจำเป็นต้องเร่งแก้ไข ด้วยเหตุนี้ ผู้นำจึงได้มีดำริให้จัดทำ “ASEAN Charter” ซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญการปกครองของอาเซียน และการจัดทำ ASEAN Charter นี้จะมีส่วนทำให้เศรษฐกิจ/สังคมของไทยเปลี่ยนแปลงไปมาก และอาจจำเป็นต้องแก้ไขกฎหมาย/กฎเกณฑ์ภายในประเทศให้สอดคล้องด้วย ASEAN Charter จะแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อนำไปสู่เป้าหมายการเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) “รวม 10 ประเทศมาอยู่ในชุมชนเดียวกัน” มีต่อด้านหลัง นัยของกฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
พิมพ์เขียว AEC พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint พิมพ์เขียว AEC คืออะไร ถ้าสังเกตให้ จะเห็นว่า บ้านหลังนี้มี “ปล่องไฟ” อยู่ด้วย ซึ่งก็หมายถึงในการดำเนินงานตาม AEC Blueprint นั้น หากมีประเด็นที่มีความอ่อนไหว ไม่สามารถดำเนินการได้ ประเทศสมาชิกก็สามารถมีความยืดหยุ่นได้ แต่จะต้องมีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า “Pre-agree flexibility”
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN AEC นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT (AFTA) สินค้าในรายการลดภาษี เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา ภาษี 0% ปี 2558 อาเซียน - 6 ภาษี 0% ปี 2553 ยกเว้น สินค้าใน Sensitive List ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง < 5% ไทยมี 4 รายการ (กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง สินค้าใน Highly Sensitive List ไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์, น้ำตาลของอินโดนีเซีย CEPT : Common Effective Preferential Tariff
อนุญาตให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ไม่ต่ำกว่า …… แผนงานในพิมพ์เขียว AEC เคลื่อนย้ายบริการเสรี อะไรบ้างที่เป็นธุรกิจบริการ ? เปิดเสรีการค้าบริการ อนุญาตให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ไม่ต่ำกว่า …… 49% ปี 2549 (2006) ปี 2551 (2008) 51% ปี 2553 (2010) 70% ปี 2556 (2013) 70% 70% ปี 2558 (2015) 2551(2008)2553(2010)2556(2013)2558(2015)สัดส่วนถือหุ้นของอาเซียนในสาขา PIS*4 สาขา(ICT, สุขภาพ, ท่องเที่ยว, การบิน)ไม่น้อยกว่า51%ไม่น้อยกว่า70%PIS เพิ่มสาขา โลจิสติกส์ 49%51%70%สาขาอื่นๆ49%51%-70% สาขา PIS PIS: Priority Integration Sectors (สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม) เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) / สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การบิน โลจิสติกส์ 49% 51% สาขาอื่นๆ 30% 49% 51% 35 35 35
แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี/เงินทุนเสรียิ่งขึ้น 3. เปิดเสรีลงทุน ปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง ทบทวนความตกลง AIA ให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ - (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม/อำนวยความสะดวก) ACIA : ASEAN Comprehensive Investment Agreement 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 TiP & Tricks ในการเตรียมรับมือ AEC ข้อคิด จากรับเป็นรุก เปลี่ยนวิสัยทัศน์จากมองเชิงรับเป็นเชิงรุก อย่ามัวแต่กลัวว่าจะแข่งไม่ได้ แต่มองหาโอกาสที่เปิดกว้างขึ้น รู้รอบ รู้ทัน ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวอยู่เสมอ รู้เขา รู้เรา ศึกษาตลาด รสนิยมความต้องการในอาเซียน เรียนรู้คู่แข่ง รู้จุดแข็ง จุดอ่อนของตนและคู่แข่ง สร้างความแตกต่างของสินค้า/บริการ โดยใช้จุดแข้งที่มี รู้ลึก รู้ล้ำ ศึกษาทำความเข้าใจกฏระเบียบ หลักเกณฑ์ มองล้ำให้เห็นถึงลักษณะการแข่งขันในอนาคต เนื่องจาก อุปสรรคทางภาษีจะหมดไป การแข่งขันจะอยู่ที่ความคิด สร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน การผูกมัดใจของการบริการ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 37
สำหรับ “Next Generation” ควรเตรียมตัวอย่างไร เพื่อเป็น “หัวจักร”ขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าไทยใน AEC สังคม ความเป็นอยู่ รู้จักอาเซียนดีพอหรือยัง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม แนวความคิด ค่านิยม ภาษา มองหาโอกาสใหม่ๆ “Unseen Opportunities”โอกาสไม่ได้มีแค่ที่เห็น มองอาเซียนไม่ใช่แค่เป็นคู่แข่ง แต่เป็นทั้ง “คู่ค้า คู่หู”
สรุป อาเซียนจะกลายเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ในปี 2558 (2015) ไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของตลาดและฐานการผลิตร่วมของอาเซียน ภาษีนำเข้าจะเป็นศูนย์ ในอาเซียนุ-6 ณ 1 มค 2553 ใน CLMV ณ 1 มค 2558 จะไปทำธุรกิจภาคบริการ หรือไปลงทุนในอาเซียนอื่นๆได้อย่างเสรีขณะเดียวกัน ไทยจะต้องเปิดเสรีถึง 70% ในปี 2558 สิ่งแรกคือ ต้องให้ทุกภาคส่วนตระหนัก(รู้) แต่อย่า(ตื่น)ตระหนก ควรแนะให้ภาคเอกชนใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก มากกว่าคิดแต่จะรับ ผลที่จะเกิดขึ้นมีทั้งได้และเสีย ต้องกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องปรับตัว แนะการเตรียมตัวรับมือ ให้กับผู้ที่อาจเสีย/ได้รับผลกระทบ แนะลู่ทางการใช้ประโยชน์ให้กับผู้ที่จะได้ประโยชน์
การเจรจาในกรอบ FTA ทำไมต้องมีการเจรจา FTA ลดอุปสรรคทางการค้า (ภาษีศุลกากร/ มิใช่ภาษี) ทั้งสินค้าและบริการ ดึงดูดการลงทุน ขยาย / รักษาตลาด
ความตกลงการค้าบริการ ประเด็นสำคัญในการทำ FTA เพื่อเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน ลดภาษีศุลกากร ลดมาตรการกีดกันอื่นๆ และการอำนวยความสะดวกทางการค้า ความตกลงด้านสินค้า ลดข้อจำกัดต่างชาติในการเข้ามาลงทุน การทำงาน การยอมรับมาตรฐานวิชาชีพ ฯลฯ ความตกลงการค้าบริการ เปิดตลาดการลงทุน ส่งเสริม และ คุ้มครองการลงทุนและนักลงทุน ความตกลงการลงทุน
FTA ไทย - คู่เจรจา ความตกลงฉบับเดียว (Single Undertaking) ไทย-ออสเตรเลีย มีผล 1 ม.ค. 48 ไทย-นิวซีแลนด์ มีผล 1 ก.ค. 48 ไทย-ญี่ปุ่น มีผล 1 พ.ย. 50 ไทย-เปรู ลงนามพิธีสารเพิ่มเติม 1 พ.ย.52 เพื่อเร่งเปิดเสรีทางการค้า (Early Harvest) BIMSTEC สรุปผลความตกลงการค้าสินค้าได้ในการประชุม BIMSTEC TNC ครั้งที่ 18 (มิ.ย. 52) ส่วนที่ไทยจะได้ประโยชน์เพิ่มขึ้นจาก FTA ไทย-อินเดีย และ อาเซียน-อินเดีย เช่น โทรทัศน์สี อัญมณีและเครื่องประดับบางรายการ ซึ่งสามารถใช้เกณฑ์แหล่งกำเนิดเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules: PSRs) ทำให้ส่งออกไปอินเดียโดยใช้สิทธิประโยชน์จาก FTA ได้ ไทย-EFTA หยุดพักการเจรจา แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ สินค้า บริการ ลงทุน ไทย-อินเดีย มีผล 1 ก.ย. 47 (82 รายการ) อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา BIMSTEC คาดว่าจะลงนาม ต.ค. 52 อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา
FTA อาเซียน - คู่เจรจา ความตกลงฉบับเดียว (Single Undertaking) อาเซียน-ญี่ปุ่น มีผล 1 มิ.ย. 52 อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ มีผล 12 มีค. 53 อาเซียน-EU หยุดพักการเจรจา อาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP) การที่ไทยเข้าร่วมความตกลง AJCEP จะเป็นการเสริมผลประโยชน์เพิ่มขึ้นจาก JTEPA ญี่ปุ่นลดภาษีสินค้าเร็วขึ้น/เพิ่มขึ้น 71 รายการ เช่น กล้วย ปลาหมึกปรุงแต่ง เป็นต้น กฎเกณฑ์ว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าที่ยืดหยุ่นกว่า เช่น อาหารปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์ ปลา หรือสัตว์น้ำ ของปรุงแต่งจากธัญพืช พืชผักและผลไม้ เป็นต้น รวมทั้งกฎเกณฑ์ ว่าด้วยการสะสมถิ่นกำเนิดสินค้า ซึ่งจะช่วยให้ไทยสามารถใช้วัตถุดิบทั้งจากอาเซียนและญี่ปุ่นมาทำการผลิตและส่งออกสินค้า ในขณะเดียวกันไทยก็ยังสามารถส่งออก สินค้าวัตถุดิบต่างๆไปยังอาเซียนและญี่ปุ่นด้วย สนับสนุนส่งเสริมการลงทุนและขยายฐานการผลิตของญี่ปุ่นมายังอาเซียนและประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) การลดภาษีเร็วขึ้น สินค้าที่ได้ประโยชน์มากขึ้นกว่า TAFTA ได้แก่ สิ่งทอ เครื่องหนัง ของทำจากหนัง และของทำจากเหล็ก เป็นต้น สินค้าที่ได้ประโยชน์มากขึ้นกว่า TNZCEP ได้แก่ สิ่งทอ อาหารปรุงแต่ง พลาสติกและผลิตภัณฑ์ ยางและผลิตภัณฑ์ ไม้และผลิตภัณฑ์ เป็นต้น กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า สามารถใช้วัตถุดิบจากประเทศสมาชิกอาเซียนได้ด้วย และมีความยืดหยุ่นมากขึ้น เช่น สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อาเซียน-เกาหลี (AKFTA) ไทยจะสามารถรักษาขีดความสามารถในการแข่งขันกับอาเซียนอื่นและประเทศที่สามที่เป็นคู่แข่งของไทยที่ได้จัดทำความตกลง FTA กับเกาหลีแล้ว สินค้าส่งออกสำคัญของไทยที่จะได้รับประโยชน์จากการลด/ยกเลิกภาษีจากเกาหลี ได้แก่ เครื่องคอมแพรสเซอร์ แผ่นชิ้นไม้อัด มอเตอร์ไฟฟ้า กากน้ำตาล ยางรถยนต์ เส้นด้าย ปลาแช่แข็ง สำหรับสินค้าเกษตรจะได้รับการจัดสรรโควตาปลอดภาษี เช่น กุ้ง แช่เย็น แช่แข็ง กุ้งแปรรูป ปลาหมึกกระดองแช่เย็น ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง แป้งมันสำปะหลัง เป็น ต้น ***อาเซียน-จีน 1 ม.ค.53 ไทยและจีน สินค้า 90% ลดภาษีเป็น 0% อาเซียน-อินเดีย สินค้าที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ เช่นอัญมณีและเครื่องประดับ ชิ้นส่วนและอะไหล่ยนต์ อุปกรณ์สื่อสาร เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ และอะลูมิเนียม เป็นต้น แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ สินค้า บริการ ลงทุน อาเซียน-เกาหลี ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มค. 53 มีผล 31 ตค. 52 อาเซียน-จีน มีผล 20 ก.ค. 48 มีผล 1 ก.ค. 50 (ชุดที่ 1) ลงนาม 15 กพ. 53 อาเซียน-อินเดีย มีผล 1 มค. 53 อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา
Thailand’s Trading Partners 0.54% EU Russia Japan EFTA 13.18% USA China 11.3% 3.21% GCC 11.4% Korea 9.12% 3.4% India 2.06% 1.91% ASEAN สำหรับ FTA ในอนาคต จะพิจารณาเฉพาะประเทศที่ตอบโจทย์ 5 ข้างต้นได้ ซึ่งจากการศึกษาเบื้องต้น ได้คัดเลือกออกมา 2 กลุ่ม ประเทศ คือ GCC และ Mercosur และอีก 3 ประเทศ คือ ชิลี รัสเซีย อาฟริกาใต้ โดย GCC และ Mercosur นั้น อาเซียนกำลังศึกษาประโยชน์และผลกระทบจากการเจรจา FTA อยู่ ส่วนชิลี ได้ทาบทามไทยจัดทำ FTA มานานแล้ว และกรมเจรจาฯ กำลังศึกษาอยู่ สำหรับรัสเซียและอาฟริกาใต้ เนื่องจากมีข้อจำกัดบางประการ เช่น รัสเซียยังมีระบบกฎหมายระเบียบภายในยังไม่นิ่ง (เพราะยังไม่ได้เป็นสมาชิก WTO) ส่วนอาฟริกาใต้มีระยะทางค่อนข้างห่างไกล จึงน่าจะใช้วิธีเสริมสร้างกลไกความสัมพันธ์ทางการค้าที่มีอยู่ให้ใกล้ชิด และให้นักธุรกิจสองประเทศเห็น opportunities ก่อน BIMSTEC 22.55% Peru Mercosur 3.21% 0.15% 1.7% 4.49% Australia S. Africa 0.95% Chile 0.18% 0.42% New Zealand New initiatives Existing FTAs already cover 81% of Thai exports Thailand’s total export : 178 billion USD (2010)
AEC FTA ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน อาเซียน-อินเดีย India อาเซียน-จีน China สินค้า : มีผล 2549 ~ บริการ : มีผล 2550 ~ ลงทุน : ลงนาม 13 สค 52 AEC สินค้า : มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา อาเซียน-ญี่ปุ่น Japan New Zealand Australia อาเซียน- ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อาเซียน-เกาหลี Korea สินค้า/บริการ/ลงทุน : สำหรับไทย มีผล 2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : มีผล 1 มค. 53 สินค้า /บริการ : อาเซียนอื่นมีผลแล้วตั้งแต่ปี 50 ไทย - บริการ มีผล 1 มิย 52 สำหรับ - สินค้า มีผล 1 ตค 52 - ลงทุน :ทุกประเทศ มีผล 31 ตค 52 45
การขยาย FTA ของอาเซียน – อนาคต… CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand AEC China Japan India Korea (Y2007) พลเมืองโลก 6,610 ล้าน AUS 21.5 NZ 4.3 IND 1,190.5 CHN 1318, JPN 128, ROK 48 GDP โลก 54,583 พันล้าน AUS 1,010 NZ 129 IND 1,210 CHN 3,205, JPN 4,384, ROK 970 ASEAN 10 : 583 ล้านคน ( 9% ของประชากรโลก ) GDP (ผลผลิตมวลรวมในประเทศ) 1,504 พันล้าน US$ ( 2% ของ GDP โลก ) EAFTA (อาเซียน +3) : ประชากร 2,068 ล้านคน ( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก ) CEPEA(อาเซียน +6) :ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก ) 46
โอกาส/ผลประโยชน์จากการค้าเสรีโดยเฉพาะ FTA ส่งออกไปประเทศคู่เจรจาได้มากขึ้น โดยเฉพาะสินค้าเกษตร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ได้ประโยชน์จาก Economy of Scale เป็นการกระจายแหล่งส่งออกและนำเข้า เปิดประตูไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ แทนตลาดเดิมที่เริ่มอิ่มตัว ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและเครือข่ายระหว่างกัน รวมถึง Know-how , R&D, Innovative ธุรกิจบริการที่ไทยมีศักยภาพมีโอกาสขยายตัว เช่น ท่องเที่ยว ก่อสร้าง สุขภาพ เป็นต้น
ส่งเสริมการลงทุนของธุรกิจไทยที่มีศักยภาพ ร้านอาหารไทย การท่องเที่ยว 4. ส่งเสริมการลงทุนของธุรกิจไทยที่มีศักยภาพในจีน ร้านอาหารไทย สปา อู่ซ่อมรถ การท่องเที่ยว Education Agency Health Care Logistics โดยพิจารณาจากศักยภาพของเมืองเป้าหมาย เช่น ร้านอาหารไทย Health Care และ Spa ในเมืองที่มีความเจริญแล้ว ประชาชนมีฐานะดี และมีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าไปมาก และเพื่อรองรับการจัดงาน Olympics 2008 ด้วย สำหรับอู่ซ่อมรถ จะเน้นเมืองที่มีการผลิตรถยนต์ ซึ่งอยู่ทางภาคอีสานของจีน Logistics จะเน้นไปยังเมืองท่า หรือเมืองที่มีการค้าขายระหว่างไทยกับจีนเป็นจำนวนมาก Spa
ผลกระทบของการทำ FTA ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิต/แข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ำ อาจได้รับผลกระทบ สินค้าราคาถูกเข้าไทยได้ง่ายขึ้น เช่น สินค้าจากจีน สินค้าไม่ได้มาตรฐานเข้ามาวางจำหน่ายในไทยได้ง่ายหากไม่มีมาตรการป้องกัน ผู้บริโภคอาจได้รับอันตราย บริการบางสาขาที่ยังไม่พร้อม ต้องเร่งปรับตัว เช่น ลอจิสติกส์ โทรคมนาคม ค้าส่งค้าปลีก ฯลฯ ธุรกิจข้ามชาติมีโอกาสเข้ามาลงทุนและขยายกิจการ แต่ก็ต้องเป็นไป ตามข้อกำหนดและกฎระเบียบของไทย
ภาครัฐ / เอกชน เกษตรกรเตรียมตัวอย่างไร เสริมสร้างนวัตกรรม ในการผลิต และบริการ ปรับสมดุลในโครงสร้างเศรษฐกิจ : การบริโภคภายใน – การส่งออก ตั้งกองทุนปรับโครงสร้างเพื่อช่วยเหลือและเพิ่มศักยภาพผู้ได้รับผลกระทบ ให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาสินค้าและการตลาด ภาคเอกชน ปรับโครงสร้างการผลิตที่เน้นใช้วัตถุดิบในประเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ สร้างเครือข่ายและพันธมิตรทางธุรกิจ ปรับแนวคิดเพื่อมุ่งสู่การลงทุนในต่างประเทศ
การพัฒนาเชิงคุณภาพ Go Green มันสำปะหลัง-อ้อย โรงงานEthanol สัดส่วนในน้ำมันรถ ผู้บริโภค น้ำมันปาล์ม Bio-diesel สัดส่วนการใช้ ผู้บริโภค ราคาที่ผูกกันเป็นระบบ นโยบายหลักในอนาคต Go Creative Economy New thinking New Concept – การสร้างฐานความคิด ออกแบบ Cultural DNA - มาเป็นฐานการสร้าง มูลค่าเพิ่ม การพัฒนาเชิงคุณภาพ Go Value Creation Manufacturing – สนองตอบความต้องการใหม่ Design / Design / Design 51
ยุทธศาสตร์การค้าไทย 10 ยุทธศาสตร์ 10 . รองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 10 ยุทธศาสตร์ 1. ปรับโครงสร้างการผลิตและกระตุ้นให้เกิดการลงทุน 3.พัฒนาระบบตลาด และขยายช่องทางการค้า 6. เสริมสร้างพาณิชย์ภูมิปัญญา 5.สนับสนุนให้องค์ประกอบทางการค้าเอื้อต่อความสามารถในการแข่งขัน 7. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดน 4. เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและการแข่งขันของผู้ประกอบการทุกระดับ โดยเฉพาะ SMEs 8. พัฒนาการค้าระหว่างประเทศขอไทยให้ก้าวหน้า 9. สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และวิกฤตภาวะโลกร้อน 2. พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และสร้างประสิทธิ ภาพกลไกการตลาด เพื่อเสถียรภาพราคาสินค้าเกษษตร เพื่อขับเคลื่อนการทำงานของกระทรวงพาณิชย์สู่วิสัยทัศน์ดังที่กล่าวมา กระทรวงพาณิชย์ได้กำหนดยุทธศาสตร์การค้า 10 ประเด็นยุทธศาสตร์ ซึ่งครอบคลุมการทำงานของกระทรวงพาณิชย์ และบูรณาการการทำงานกับกระทรวงอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยมีพื้นฐานจากหน้าที่ภารกิจของกระทรวง และการตอบสนองต่อกระแสการค้าโลก เพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องด้านการค้า ไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้ค้า ผู้บริโภค เกษตรกร และประชาชนทั่วไป วิสัยทัศน์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์จะดูและส่งเสริมการค้า ทั้งในและต่างประเทศ ให้มีศักยภาพที่จะสามารถยืนหยัดและเข้มแข็ง อยู่บนกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกได้ ภายใต้การค้าที่เป็นธรรมต่อผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งส่งเสริมให้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศมีการดูแล และลดผลกระทบต่อโลกร้อน เพื่อให้การค้ามีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เศรษฐกิจการค้าของประเทศมีความก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน เพื่อความอยู่ดีกินดีของคนทั้งประเทศ
ขอบคุณทุกท่าน