การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ (ร่าง) แผนแม่บท การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2564)
ความเป็นมา 5 Megatrends การเปลี่ยนขั้วอำนาจ การเติบโตของ ความก้าวหน้า ความเป็นเมือง ความก้าวหน้า ในการพัฒนา เทคโนโลยี การเปลี่ยนขั้วอำนาจ ทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร และสังคม การขาดแคลนทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลง ทางสภาพอากาศ
ความเป็นมา Urban Growth 29% (พ.ศ.2490) 52% (พ.ศ.2554) 67% (พ.ศ.2593)
ความเป็นมา Urban Health Situations
ระบบป้องกันควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ แผนแม่บทการป้องกันควบคุมโรค เขตเมือง Vision คนเมืองสุขภาพดี พหุภาคีมีส่วนร่วม ระบบป้องกันควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ Strategy พัฒนากลไกและระบบ เสริมสร้างการบริหารจัดการแบบบูรณาการ 3. ผลักดันและบังคับใช้กฎหมาย 4. สื่อสารความเสี่ยงด้วยเทคโนโลยี 5. ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรม 6. พัฒนากำลังคน Goal คนเมืองได้รับการปกป้องจากโรคและภัยสุขภาพอย่างทั่วถึง ครอบคลุม เป็นธรรม คนเมืองรอบรู้ด้านสุขภาพ ด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีการสื่อสาร
คนเมือง สุขภาพดี 6 ยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค เขตเมือง พัฒนากลไก และระบบ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง พัฒนาคน ทำงานเขตเมือง ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัย นวัตกรรม คนเมือง สุขภาพดี เสริมสร้าง บริหารจัดการ แบบบูรณาการ สื่อสารความเสี่ยงด้วยเทคโนโลยี ผลักดันและใช้กฎหมาย
พัฒนากลไกและระบบการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมเพิ่มศักยภาพระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 1 สร้างกลไกขับเคลื่อนระบบบริการปฐมภูมิ และ PCCเขตเมือง แบบมีส่วนร่วม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนานโยบายและมาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในประชากรกลุ่มเป้าหมายพิเศษในเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนากลไกและระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เสริมสร้างการบริหารจัดการแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมเชื่อมโยงกับทุกภาคส่วนเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมบทบาทของ Non-Health Sector กลยุทธ์ที่ 1 สนับสนุนให้เกิดการเชื่อมประสาน บูรณาการสร้างกลไกการทำงาน ภาคีเครือข่ายทุกภาค กลยุทธ์ที่ 4 ผลักดันHealth in all policies กลยุทธ์ที่ 3 สร้างความเป็นเจ้าของร่วมในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 5 ลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพของประชากรเขตเมือง
การผลักดันและบังคับใช้กฎหมายหรือเทศบัญญัติ มาตรการ มาตรฐานเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 1 สนับสนุนการสร้างและใช้มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อสุขภาพ
การสื่อสารความเสี่ยงด้วยเทคโนโลยีและข่าวสารที่สอดคล้องกับบริบทเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 1 การสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาเครือข่ายสื่อสารในเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพในเขตเมืองให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมาะสม
การสร้างและพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันควบคุมโรคในเขตเมือง
การพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับระบบการป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน และพัฒนาองค์กรเพื่อยกระดับองค์กรสู่องค์กรสมรรถนะสูง (High Performance Organization)
ตัวชี้วัดผลสำเร็จ 1-5 ปี 1-2 ปี (พ.ศ.2560-2564) (พ.ศ.2560-2561) สคร.มีแผนยุทธศาสตร์โรคเขตเมืองเชื่อมโยงกับแผนแม่บท มีภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการดำเนินงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสำคัญ บุคลากรทุกภาคส่วนได้รับการพัฒนาความรู้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง บุคลากรได้รับการส่งเสริมอบรมหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านเขตเมือง 1-2 ปี 1-5 ปี (พ.ศ.2560-2564) (พ.ศ.2560-2561) มีนวัตกรรมป้องกันควบคุมโรคที่เหมาะกับบริบทเขตเมือง คนเขตเมืองเข้าถึงการป้องกันควบคุมโรคเพิ่มขึ้น คนฉลาดรอบรู้ด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคด้วยตนเอง ลดการเจ็บป่วยของคนเขตเมืองด้วยโรคที่ป้องกันได้ มีศูนย์การจัดการความรู้สุขภาพเขตเมือง Smart EOC เชื่อมโยงถึงหน่วยงานท้องถิ่น ส่งเสริม อปท. ออกเทศบัญญัติเกี่ยวกับสุขภาพเขตเมือง
การติดตามและประเมินผล การเตรียมการและวางแผน การขับเคลื่อน แผนแม่บท การติดตามและประเมินผล ดำเนินการตามแผน การเตรียมการและวางแผน
ระบบป้องกันควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ คนเมืองสุขภาพดี พหุภาคีมีส่วนร่วม ระบบป้องกันควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ