มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
Advertisements

เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4 เรื่องที่ 5 บทเรียน.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556 วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น องค์กรหลักขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล.
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ. งบประมาณในการพัฒนามหาวิทยาลัยมีจำกัด การผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ไม่เป็นไปตามความ ต้องการของประเทศ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ.
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
Project based Learning
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
กฎหมายการศึกษาไทย.
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
ณ วันนี้เป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือยัง
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
โครงการชลประทานมุกดาหาร Work Smart Award 2017 สำนักงานชลประทานที่ 7
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
“การปฏิบัติหน้าที่อย่างครูมืออาชีพ”
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
PLC.
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย ยุทธศาสตร์ใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)

เพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง และยั่งยืน วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นเลิศ โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง และยั่งยืน

พันธกิจ ผลิตบัณฑิต วิจัย สร้างความรู้และนวัตกรรมให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ให้บริการทางวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี น้อมนำแนวพระราชดำริ และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม สร้างเครือข่ายและความร่วมมือกับภาคประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และผู้ประกอบการในการจัดการศึกษา บริหารจัดการมหาวิทยาลัย ให้มีความคล่องตัว ยืดหยุ่น โปร่งใส ด้วยหลักธรรมาภิบาล สู่การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาก้าวหน้า อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ระยะที่ 4 พ.ศ.2575 - 2579 ระยะที่ 3 พ.ศ.2570 - 2574 ระยะที่ 2 พ.ศ.2565 - 2569 ระยะที่ 1 พ.ศ.2560 - 2564

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาท้องถิ่น 2. การผลิตและพัฒนาครู 3. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) อุตสาหกรรม/ธุรกิจขนาดกลาง/ขนาดย่อม ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีการเกษตร และอาหารปลอดภัย อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และการบริการ เขตเศรษฐกิจพิเศษ การค้าชายแดน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น ด้านสังคม การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สุขภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อม การบริหารทรัพยากรธรรมชาติ

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) พัฒนาระบบฐานข้อมูลในการผลิตครู จัดทำแผนผลิตครูตามความต้องการ ของประเทศ การผลิตครู ระบบปิด/เปิด ผลิตครูเพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามนโยบาย ของรัฐตั้งแต่ระดับปฐมวัย พัฒนาผู้เชี่ยวชาญต้นแบบ ด้านการศึกษาของกลุ่ม มรภ. พัฒนาการจัดการศึกษาให้เป็นที่ยอมรับ ในระดับชาติและนานาชาติ พัฒนาสถาบันต้นแบบการผลิตครู ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาครู พัฒนาศักยภาพครูของครู การพัฒนาศักยภาพครู พัฒนาอาจารย์โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน พัฒนาศักยภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยระบบ Coaching and Mentoring พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยระบบ PLC (Professional Learning Community) พัฒนางานวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน สร้างนวัตกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ พัฒนาโรงเรียนสาธิตให้เป็น ศูนย์ฝึกปฏิบัติการและการวิจัย เป็นต้นแบบให้กับโรงเรียนในท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) Learning Space Smart Classroom ICT fot Learning & Teaching เพิ่มประสิทธิภาพ ทรัพยากรการเรียนรู้ ยกระดับความเป็นเลิศของ มรภ. หลักสูตรสหวิทยาการ พัฒนาหลักสูตร และบูรณาการการจัดการเรียนรู้ Social Lab Productive Learning WIL Knowledge Create Teaching ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา พัฒนาศักยภาพอาจารย์ด้านการจัดการเรียนรู้และความเชี่ยวชาญในสาขา ใบประกอบวิชาชีพ Create Text Innovation ใบประกอบวิชาชีพ อ.มรภ. Work Shadow มาตรฐานวิชาชีพ มรภ. Research & Innovation ผลงานวิจัยที่ได้รับการยอมรับ เศรษฐกิจพอเพียง มาตรฐานคุณภาพ ทางวิชาการ การทำงานร่วมกับผู้อื่น ความเป็นพลเมือง คุณภาพบัณฑิต EQ+MQ ทักษะชีวิต/Soft skill ทักษะการคิดวิเคราะห์ ภาษาอังกฤษ สมรรถนะ ที่ตลาดแรงงานต้องการ ICT ผู้ประกอบการ/Startup

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) 1. การแบ่งพื้นทีความรับผิดชอบในการพัฒนาท้องถิ่น ประกาศปฏิญญาราชภัฏ 60 ประกาศพื้นที่รับผิดชอบรายมหาวิทยาลัย ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร - ระบบสนับสนุนการบริหาร - ระบบข้อมูลทางวิชาการ - ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ 2. ระบบฐานข้อมูล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 3.การใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดทำแผนแม่บทจัดหา พัฒนาทรัพยากรทางการศึกษา จัดทำข้อตกลงแลกเปลี่ยนทรัพยากรทางการศึกษา 4. พัฒนาเครือข่าย สร้างเครือข่ายประชารัฐ พัฒนาเครือข่ายในกลุ่มมหาวิทยาลัย 5. จัดระบบงานสู่ความเป็นเลิศและเสริมสร้างธรรมภิบาล กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ศึกษา พัฒนา และแก้ไขกฎหมาย เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาล

ยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เป้าหมาย ตัวชี้วัด กลยุทธ์ และโครงการสำคัญ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น เป้าหมาย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม มีฐานข้อมูลปัญหาและความต้องการของชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ต้องเข้าไปสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา จำนวนชุมชนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเข้าไปให้ความรู้กับประชาชนและร่วมพัฒนาในด้านต่างๆ จำนวนโครงการที่น้อมนำแนวพระราชดำริมาบูรณาการแก้ไขปัญหาในการพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน จำนวนโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่ใช้พัฒนาเศรษฐกิจท่้องถิ่นเพิ่มขึ้น จำนวนวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการใหม่ ที่เพิ่มขึ้นในท้องถิ่น รายได้ที่เพิ่มขึ้นของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ อัตราการอพยพย้ายถิ่นของประชากรวัยทำงานในท้องถิ่นลดลง จำนวนองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของ มรภ. มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ร้อยละของนักเรียนในท้องถิ่นที่เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยราชภัฏแต่ละปีการศึกษา จำนวนแผนงาน/โครงการพัฒนาชุมชนท่ี่มีมหาวิทยาลัยราชภัฎเป็นแกนนำมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น แรงงงานขอเทียบโอนความรู้ ประสบการณ์ เพื่อยกระดับคุณวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้น สถานศึกษาที่ปลอดยาเสพติดเพิ่มขึ้น ร้อยละของนักเรียนระดับประถมศึกษาในพื้นที่รับผิด ชอบของ มรภ. ที่สามารถอ่านออกเขียนได้เพิ่มขึ้น จำนวนโครงการที่ มรภ ดำเนินการเพื่อส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬาของท้องถิ่นให้เป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือนานาชาติ ร้อยละของประชาชนในท้องถิ่นที่ดัชนีสุขภาพเพิ่มขึ้น จำนวนโครงการในการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่น จำนวนชุมชน/ท้องถิ่นที่เข้าร่วมโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นแล้วนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ต่อยอดในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมของชุมชน บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจของท้องถิ่น ที่เป็นไปตามบริบทและความต้องการในการพัฒนาท้องถิ่น บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่น ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และสุขภาพ บูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม โครงการกำหนดพื้นที่ความรับผิดชอบและจัดทำแผนในการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาท้องถิ่นของแต่ละ มรภ. โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่ใช้พัฒนาเศรษฐกิจท่้องถิ่น โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการใหม่ โครงการส่งเสริมและจัดการเรียนรู้เรื่องศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถิ่น/ชุมชน จัดทำฐานข้อมูลกลางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และสุขภาพ โครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสังคมท้องถิ่น ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และกีฬา การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และสุขภาพ โครงการเกี่ยวกับการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับสภาพชุมชน/ท้ถงถิ่นให้กับประชาชนทุกลุ่มเป้าหมายในชุมชน โครงการพันธกิจสัมพันธ์เพื่อบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด กลยุทธ์ โครงการหลัก

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาครู เป้าหมาย การผลิตครู ระบบปิด/เปิด การพัฒนาศักยภาพครู การพัฒนานวัตกรรมการผลิตและพัฒนาครู ร้อยละของโรงเรียนขั้นพื้นฐานในพื้นที่ ที่มีมหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นพี่เลี้ยง ร้อยละของความขาดแคลนครูในโรงเรียนขั้นพื้นฐานในพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยราชภัฏมีจำนวนลดลง ร้อยละของบัณฑิตครูที่สอบผ่านมาตรฐาน ใบประกอบวิชาชีพครู ร้อยละของบัณฑิตครูที่จบจากมหาวิทยาลัยราชภัฏที่สอบบรรจุครูได้ในครั้งแรก สัดส่วนบัณฑิตครูที่ได้รับการบรรจุเข้าทำงานในท้องถิ่น ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นต้นแบบความเชี่ยวชาญในวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับ ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษาในท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาจาก มรภ. และ/หรือได้รับวิทยฐานะที่สูงขึ้น ร้อยละของนักเรียนในท้องถิ่นที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขึ้นพื้นฐาน (ONET) แต่วิชาผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่มขึ้น จำนวนนักเรียน ครู หรือโรงเรียนที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสะเต็ม (STEM Education) ผลงานการวิจัยฉพาะสาขาวิชาชีพครูได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ หรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิตและพัฒนาครูเพิ่มขึ้น จำนวนโรงเรียนในท้องถิ่นที่มีการนำนวัตกรรมการจัดการ ผลิตครูที่ได้มาตรฐานวิชาชีพและมีจิตวิญญาณความเป็นครูและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพครูของครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเป็นมืออาชีพ สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สู่การศึกษา 4.0 โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการผลิตและพัฒนาครู โครงการพัฒนาระบบการจัดการศึกษา โครงการพัฒนาสถาบันต้นแบบการผลิตครู โครงการพัฒนาอาจารย์เป็นอาจารย์ต้นแบบด้านการศึกษา โครงการศูนย์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ด้วยระบบโค้ชชิ่ง แอนด์ เมนเตอร์ริ่ง และพีแอลซี โครงการพัฒนางานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โครงการพัฒนาโรงเรียนสาธิตให้เป็นศูนย์ฝึกปฏิบัติการและการวิจัยเป็นต้นแบบให้กับโรงเรียนในท้องถิ่น ตัวชี้วัด กลยุทธ์ โครงการหลัก

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ยกระดับความเป็นเลิศของ มรภ. เป้าหมาย ยกระดับความเป็นเลิศของ มรภ. พัฒนาอาจารย์ คุณภาพบัณฑิต จำนวนแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาให้สามารถจัดการศึกษา/จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อทรัพยากรการเรียนรู้ใน มรภ. เพิ่มขึ้น จำนวนหลักสูตรสหวิทยาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น ร้อยละของอาจารย์ที่มีใบรับรองความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพมาตรฐานอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น ร้อยละของอาจารย์ที่สอบผ่านมาตรฐานภาษาอังกฤษ จรรยาบรรณวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสมรรถนะเฉพาะทางวิชาชีพ ร้อยละของจำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อประโยชน์สาธารณะช่วยเหลือสังคมเพิ่มขึ้น ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษเฉลี่ยของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เมื่อทดสอบตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ CEFR สูงขึ้น อัตราการได้งานทำ/ประกอบอาชีพอิสระของผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา ภายในระยะเวลา 1 ปีเพิ่มขึ้น ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีสมรรถนะเป็นที่พอใจของสถานประกอบการเพิ่มขึ้น พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาคุณภาพการบริการทรัพยากรการเรียนรู้ พัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรสหวิทยาการตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้บัณฑิตเป็นคนดีมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ โครงการจัดหาและเพิ่มประสิทธิภาพทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู้ โครงการพัฒนา ปรับปรุง บูรณาการหลักสูตร มรภ. ให้มีความพร้อมและเป็นจุดเด่นตามแนวทางยุทธศาสตร์ใหม่ โครงการความร่วมมือพัฒนาหลักสูตรสหวิทยาการและบูรณาการการจัดการเรียนรู้กับผู้ใช้บัณฑิตและองค์กรวิชาชีพ โครงการสร้างมาตรฐาน ฝึกอบรมและพัฒนาอาจารย์มืออาชีพ โครงการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะเฉพาะทางวิชาชีพ โครงการสร้างมาตรฐานวิชาชีพบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ พัฒนาบัณฑิตให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต โครงการบ่มเพาะให้บัณฑิตมีทักษะเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (Startup) ตัวชี้วัด กลยุทธ์ โครงการหลัก

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ เป้าหมาย แบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบ ระบบฐานข้อมูล การใช้ทรัพยากร พัฒนาเครือข่าย จัดระบบงานสู่ความเป็นเลิศและเสริมสร้างธรรมภิบาล มีปฏิญญามหาวิทยาลัยราชภัฏร่วมพัฒนาท้องถิ่น ภายในปี 2560 จำนวนระบบงาน/ฐานข้อมูลร่วมที่ร่วมมือพัฒนาสำเร็จตามแผนงานร่วม ร้อยละของมหาวิทยาลัยที่จัดหาและแลกเปลี่ยนรัพยากรการศึกษาร่วมตามเกณฑ์ ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมร่วมที่เครือข่ายดำเนินการได้แล้วเสร็จตามแผน กฎหมาย ระเบียบ ได้รับการปรับปรุงประกาศใช้เป็นไปตามแผน ร้อยละของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ร่วมโครงการหรือผ่านการประเมิน EdPEx ร่วมกำหนดพื้นที่ความรับผิดชอบในการพัฒนาท้องถิ่น พัฒนาระบบฐานข้อมูลร่วม จัดหา พัฒนา แลกเปลี่ยนทรัพยากร ทางการศึกษา สร้างเครือข่ายประชารัฐในการทำงาน ตามพันธกิจ จัดระบบงานสู่ความเป็นเลิศและเสริมสร้าง ธรรมภิบาล โครงการประกาศปฏิญญา ราชภัฏ 60 โครงการประกาศพื้นที่รับผิดชอบรายมหาวิทยาลัย โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร - ระบบสนับสนุนการบริหาร - ระบบข้อมูลทางวิชาการ - ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ โครงการจัดทำแผนแม่บทจัดหา พัฒนาทรัพยากรทางการศึกษา โครงการจัดทำข้อตกลงแลกเปลี่ยนทรัพยากรทางการศึกษา โครงการสร้างเครือข่ายประชารัฐ โครงการพัฒนาเครือข่ายในกลุ่มมหาวิทยาลัย โครงการพัฒนาและประเมินระบบบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ โครงการศึกษา พัฒนา และแก้ไขกฎหมาย เพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด กลยุทธ์ โครงการหลัก

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย ยุทธศาสตร์ใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)