ร่างหลักสูตร โครงการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
นายพิเชษฐ์ ปาณะ พงศ์ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายคเชนทร์ชิต เมี้ยนละม้าย หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุเพ็ญ หวัง ธรรมมั่ง หัวหน้าฝ่าย บริหารงานทั่วไป.
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ณ 31 พฤษภาคม
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
Road Map : การพัฒนาบุคลากร กรมตรวจ บัญชีสหกรณ์ ผู้รับผิดชอบ / การดำเนินการ ประเด็นเนื้อหา หลักสูตร ระยะเวลาดำเนินการ ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการพัฒนาการศึกษา จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2559 สำนักงาน กศน. จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ จำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
แนวทางการนำเสนอข้อมูลต่อ รวอ. ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2560
การท่องเที่ยวโดยชุมชน : ชุมชนสายยาว อำเภอเมืองบุรีรัมย์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร่างหลักสูตร โครงการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี

รายได้จากการท่องเที่ยวของหมู่บ้านเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 กระบวนงานการขับเคลื่อนโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัดบุรีรัมย์ งปม. 240 ล้านบาท สร้างรายได้ รายได้จากการท่องเที่ยวของหมู่บ้านเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 เป้าหมาย จำนวน 23 อำเภอ 98 หมู่บ้าน มาตรการแนวทาง กระบวนงาน 1. เตรียมความพร้อมการเป็นผู้ประกอบการชุมชนท่องเที่ยว 1.1 การเตรียมความพร้อมและสร้างการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของผู้นำและองค์กรด้านการท่องเที่ยว หมู่บ้านละ 5 คน 1.2 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จำนวนหมู่บ้านละ 40 คน 1.3 การติดตามและประเมินผล คณะทำงานขับเคลื่อน ฯ ระดับอำเภอ/จังหวัด 2. การจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี จำนวนหมู่บ้านละ 40 คน พัฒนาบุคลากร ด้านการท่องเที่ยว 1. การพัฒนาศักยภาพด้านกายภาพของแหล่งท่องเที่ยว : การออกแบบและปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนท่องเที่ยว TOP นวัตวิถี 2. ส่งเสริม/พัฒนาเสน่ห์ประเพณี วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ชุมชน 2.1 การพัฒนานักเล่าเรื่องชุมชน หมู่บ้านละ 25 คน 2.2 การพัฒนาด้านการอำนวยการและการบริการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี หมู่บ้านละ 20 คน 2.3 การพัฒนาอาหารพื้นถิ่น หมู่บ้านละ 20 คน 2.4 การพัฒนาศักยภาพฐานเรียนรู้ปราชญ์/ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมู่บ้านละ 20 คน พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอำนวยความสะดวก

กระบวนงานการขับเคลื่อนโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จังหวัดบุรีรัมย์ (ต่อ) มาตรการแนวทาง กระบวนงาน พัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว 1. พัฒนาผู้ประกอบการชุมชน หมู่บ้านละ 10 คน 2. พัฒนาสินค้าและบริการชุมชนท่องเที่ยว หมู่บ้านละ 10 ผลิตภัณฑ์ 980 ผลิตภัณฑ์ 3. ออกแบบตราสัญลักษณ์ และสโลแกนชุมชนท่องเที่ยว เชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวแต่ละท้องถิ่น ออกแบบและเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยว : การจัดเวทีประชาคมเพื่อเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 1. การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 2. กิจกรรมเปิดตัวชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และเส้นทางท่องเที่ยว 3. กิจกรรม Business Matching : มหกรรมชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ส่งเสริมการตลาดชุมชนท่องเที่ยว หน่วยงานภาคี : ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด/วัฒนธรรมจังหวัด/อุตสาหกรรมจังหวัด/พาณิชย์จังหวัด/มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์/เกษตรจังหวัด/กศน.จ./ททท./บริษัทประชารัฐ รักสามัคคี/สมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัด ฯลฯ

1 การเตรียมความพร้อมและสร้างการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของผู้นำและองค์กรชุมชน ด้านการท่องเที่ยว วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจในการดำเนินโครงการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เป้าหมาย กรรมการหมู่บ้าน กลุ่มOTOP ฯลฯ หมู่บ้านละ ๕ คน ๙๘ หมู่บ้าน เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ๒๓ อำเภอ เนื้อหา ๑. แนวคิด หลักการและองค์ประกอบของการท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๒. แนวทางและกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๓. การสร้างสรรค์คุณค่าชุมชนภายใต้แนวคิด การพัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๔. การวางแผนปฏิบัติการ/มอบหมายภารกิจ ระยะเวลา ๒ วัน ๔ รุ่น วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติ งบประมาณ ๑,๓๓๘,๘๐๐ บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับจังหวัด

2 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักศักยภาพ ความเป็นตัวตนของชุมชน ตนเอง และวิเคราะห์ชุมชนของตนเองได้ เป้าหมาย กรรมการหมู่บ้าน กลุ่ม/องค์กร จำนวน หมู่บ้านละ ๔๐ คน เนื้อหา ๑.การวิเคราะห์ชุมชนและการวางแผนการดำเนินงานในระดับหมู่บ้าน ๒.แนวทางและกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๓.การสร้างสรรค์คุณค่าสู่ชุมชนภายใต้แนวคิดหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 4.ทัศนศีกษา/ดูงาน ระยะเวลา 4 วัน (ฝึกอบรม 2 วัน /ศึกษา/ดูงาน 2 วัน) วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง /ฝึกปฏิบัติ ๓ ใบงาน งบประมาณ ๑๒,๕๔๔,๐๐๐ บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ/หมู่บ้าน

3 การติดตามและประเมินผล วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เป้าหมาย คณะทำงานขับเคลื่อน สนับสนุนการพัฒนาหมู่บ้าน OTOP นวัตวิถี ระดับจังหวัด/อำเภอ เนื้อหา ๑. จัดตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ ๒. จัดเวทีประเมินผลโครงการแบบมีส่วนร่วม ๓. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินโครงการ/สรุปผลการประเมิน ระยะเวลา ไตรมาส ๔ วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. จัดเวทีประเมินผลระดับอำเภอ/ระดับโซน งบประมาณ ๑๓๘,๓๐๐ บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับจังหวัด

4 การจัดทำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี เนื้อหา ๑. ความสำคัญ องค์ประกอบของการจัดทำแผนพัฒนา ๒. เครื่องมือการวิเคราะห์ชุมชนเพื่อจัดทำแผน ๓. การสำรวจชุมชนเพื่อจัดทำแผน ๔. ฝึกปฏิบัติ/จัดทำแผน ระยะเวลา 4 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนา /ใบงาน งบประมาณ 6,036,800 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

5. การออกแบบและปรับปรุงภูมิทัศน์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เนื้อหา ๑. งานปรับปรุงสภาพพื้นที่/สร้างเอกลักษณ์ชุมชน ๒. งานจัดทำจุด Land mark ๓. งานปรับปรุง/จัดสวนหย่อม/ปลูกต้นไม้ ๔. งานจัดทำป้าย/ฐานเรียนรู้/วัสดุ ๕. จัดหาชุดแต่งกาย ชุดประจำหมู่บ้าน/ชุมชน ๖. งานปรับปรุง โฮมสเตย์ ระยะเวลา ไตรมาส 3-4 วิธีการ ๑. จ้างออกแบบและปรับปรุงภูมิทัศน์ ๒. ประชุม คณะกรรมการหมู่บ้าน/กลุ่ม/องค์กร งบประมาณ 47,040,000 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

๑. ทักษะการพูดในที่ชุมชน ๒. ทักษะการนำเสนอและการสื่อความหมาย 6 การพัฒนานักเล่าเรื่องชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี : ตำนาน ประเพณี ความเชื่อ วัฒนธรรม วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างนักเล่า/ผู้นำเสนข้อมูลชุมชนในหมู่บ้านท่องเที่ยวOTOP นวัตวิถี เป้าหมาย กลุ่มเยาวชน,คณะกรรมการหมู่บ้าน,ผู้สูงอายุ/ปราชญ์ชาวบ้าน/ครู นักเรียน จำนวน 98 หมู่บ้าน ๆ ละ 25 คน เนื้อหา ๑. ทักษะการพูดในที่ชุมชน ๒. ทักษะการนำเสนอและการสื่อความหมาย ๓. การจัดการความรู้ชุมชน (KM) ๔. เทคนิค/เครื่องมือการเล่าเรื่อง ๕. ฝึกปฏิบัติ/กิจกรรมสาธิต/บทบาทสมมุติ ระยะเวลา 5 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติ /กิจกรรมสาธิต บทบาทสมมุติ/ใบงาน งบประมาณ 6,149,500 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

7 การพัฒนาศักยภาพด้านการอำนวยการและบริการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เป้าหมาย คณะกรรมการหมู่บ้าน/กลุ่ม/องค์กรสตรี/คณะกรรมการ โฮมสเตย์, ครู นักเรียน จำนวน 23 อำเภอ และจำนวน 98 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน เนื้อหา ๑. งานจัดการต้อนรับ(อาหารว่าง,เครื่องดื่ม,จุดแสดงผลิตภัณฑ์) ๒. งานจัดการแสดง/การละเล่นของชุมชน 3. การจัดคนเข้าที่พัก/โฮมสเตย์ และฐานการเรียนรู้ 4. งานอำนวยความสะดวก (การเดินทาง) 5. ฝึกปฏิบัติ ๖. ระยะเวลา 3 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ/แลกเปลี่ยน ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติบทบาทสมมุติ/นำเสนอกลุ่มใหญ่ งบประมาณ 4,299,800 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

เป้าหมาย กลุ่มสตรี แม่บ้าน จำนวน 98 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน เนื้อหา 8 การประชุมเชิงปฏิบัติการ : การพัฒนาอาหารพื้นถิ่น/อัตลักษณ์ ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมปรับปรุง พัฒนา คิดค้นรายการอาหารพื้นถิ่นที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนในหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เป้าหมาย กลุ่มสตรี แม่บ้าน จำนวน 98 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน เนื้อหา ๑. ความสำคัญของอาหารต่อการท่องเที่ยว ๒. ภูมิปัญญาท้องถิ่นและเรื่องราวความเป็นมาของอาหาร ๓. การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นเพื่อสุขภาพ ๔. ฝึกปฏิบัติ /กิจกรรมสาธิต ระยะเวลา 2 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง/จัดทำรายการอาหาร ๓. ฝึกปฏิบัติ/กิจกรรมสาธิต “ชิม ติ ชม” งบประมาณ 3,992,800 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ/หมู่บ้าน 9.การประชุมเชิงปฏิบัติการ : การพัฒนาศักยภาพฐานเรียนรู้ปราชญ์/ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ กลุ่มอาชีพ ปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ ได้รับพัฒนา ทักษะ ความรู้ การจัดการฐานเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองได้อย่างเป็นระบบ เป้าหมาย ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ กลุ่ม OTOP ,ปราชญ์ชาวบ้าน,ภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 98 หมู่บ้าน 23 อำเภอ เนื้อหา ๑. แนวทาง ความสำคัญของการจัดการฐานเรียนรู้ในหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๒. องค์ประกอบของการจัดการฐานเรียนรู้ ๓. การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น ๔. การจัดทำ/ปรับปรุงฐานเรียนรู้ ๕. ฝึกปฏิบัติ/สาธิต (นวดแผนไทย,หมอกระดูก,หมอเป่า) ระยะเวลา 2 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ 3. กิจกรรมสาธิต/นำเสนอผลิตภัณฑ์กลุ่มใหญ่ งบประมาณ 4,057,800 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ/หมู่บ้าน

10.การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถกำหนดกิจกรรมการพัฒนาตนเอง พัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตถีได้ เป้าหมาย ผู้ผลิต ผู้ประกอบการกลุ่ม OTOP และกลุ่มอาชีพ ในหมู่บ้าน จำนวน 98 หมู่บ้าน ๆ ละ 10 คน เนื้อหา ๑. คุณสมบัติ คุณลักษณะ และทักษะของผู้ประกอบการ ๒. การจัดทำแผนธุรกิจ/กลยุทธ์การตั้งราคา ๓.หลักการบริหารจัดการ/กระบวนการกลุ่ม ๔. ฝึกปฏิบัติ ระยะเวลา 3 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติ/นำเสนอกลุ่มใหญ่ งบประมาณ 2,322,400 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

11. การพัฒนาสินค้า OTOP และสินค้าที่ระลึกชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสินค้าที่ระลึก เป้าหมาย หมู่บ้านละ 10 ผลิตภัณฑ์ ๆละ 2 คน (ผู้ผลิต ผู้ประกอบการOTOP, กลุ่มอาชีพ) เนื้อหา ๑. ความสำคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๒ แนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ส่วนประสมทางการตลาด 4 P ๓. เทคนิคการวิเคราะห์และบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/ผู้รับบริการ ๔. กลยุทธ์การจัดและตกแต่งผลิตภัณฑ์และร้านค้า ระยะเวลา 3 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติ 4. จัดหาวัสดุสาธิตและสนับสนุนวัสดุกลุ่มผลิตภัณฑ์ งบประมาณ 76,048,000 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

12 การออกแบบตราสัญลักษณ์และสโลแกนท่องเที่ยวชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของตราสัญลักษณ์และสโลแกนชุมชน เป้าหมาย แกนนำ/ผู้นำชุมชน,ปราชญ์ชาวบ้าน,นักเล่าเรื่องชุมชน,เยาวชน,เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน หมู่บ้านละ 5 คน จำนวน 98 หมู่บ้าน เนื้อหา ๑. แนวคิด/ความสำคัญ การสร้างตราสัญลักษณ์และสโลแกน ๒. องค์ประกอบ/เรื่องราว/ที่มาของการสร้างตราสัญลักษณ์และสโลแกน ๓. ฝึกปฏิบัติ (ค้นหา,สำรวจชุมชน,วิเคราะห์) ระยะเวลา 3 วัน วิธีการ ๑. บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติ/นำเสนอกลุ่มใหญ่ 4. จ้างเหมาจัดทำตราสัญลักษณ์และสโลแกน งบประมาณ 15,550,600 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

13. การออกแบบการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวชุมชนหมู่บ้านเป้าหมาย วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเครือข่ายหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เป้าหมาย หมู่บ้านท่องเที่ยว จำนวน 98 หมู่บ้าน เส้นทางการท่องเที่ยวจำนวน 1 เส้นทาง เนื้อหา ๑. ความสำคัญของเส้นทางและโปรแกรมการท่องเที่ยว ๒ การสร้างเครือข่าย ๓. การปักหมุด/คัดเลือกหมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชนเป้าหมาย ๔. การสร้างเส้นทางท่องเที่ยว ๕. ศึกษาดูงาน/หมู่บ้านท่องเที่ยว (ชุมชนข้างเคียง) ระยะเวลา 2 วัน วิธีการ ๑. จัดเวทีประชาคม /บรรยายประกอบสื่อ ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมอง ๓. ฝึกปฏิบัติ/นำเสนอกลุ่มใหญ่ งบประมาณ 1,287,200 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับจังหวัด

14. การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เป้าหมาย 1. จำนวน 23 อำเภอ / 98 หมู่บ้าน 2. แผ่นพับ/Guide book จำนวน หมู่บ้านละ 50-100 แผ่น / 1 เล่ม เนื้อหา ๑. ข้อมูลหมู่บ้าน ๒. ข้อมูลผลิตภัณฑ์ OTOP ๓. ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ๔. ราคา ๕. สถานที่ติดต่อ/เส้นการเดินทาง ๖. ภาพกิจกรรม ระยะเวลา ไตรมาส 4 วิธีการ ๑. จ้างเหมาออกแบบจัดทำแผ่นพับ/ Guide book ๒. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ โทรทัศน์/วิทยุ งบประมาณ 10,194,600 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด

15. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เปิดชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เนื้อหา ๑. ข้อมูลหมู่บ้าน /พร้อมจัดแสดง ๒. ข้อมูลผลิตภัณฑ์ OTOP /ผลิตภัณฑ์พร้อมจำหน่าย ๓. ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว/พร้อมสาธิต ๔. การละเล่น/พร้อมสาธิต ๕. สถานที่ติดต่อ/เส้นการเดินทาง ๖. สื่อ แผ่นพับประชาสัมพันธ์/ภาพกิจกรรม ระยะเวลา ไตรมาส 4 ( กรกฎาคม 2561) วิธีการ ๑. จ้างเหมาดำเนินการออกแบบ จัดสถานที่ ตกแต่ง ร้าน ๒. จัดแสดงผลงาน ผลิตภัณฑ์ การแสดง การละเล่น ของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ๓. งบประมาณ 29,400,000 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับอำเภอ

เป้าหมาย จำนวน 23 อำเภอ 98 หมู่บ้าน 16. การจัดกิจกรรม Business Matching : มหกรรมชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี อารยธรรมขอม จังหวัดบุรีรัมย์ วัตถุประสงค์ เพื่อประชาสัมพันธ์หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และเพิ่มช่องทางการตลาด ในระดับจังหวัด เป้าหมาย จำนวน 23 อำเภอ 98 หมู่บ้าน เนื้อหา ๑. ข้อมูลหมู่บ้าน /พร้อมจัดแสดง ๒. ข้อมูลผลิตภัณฑ์ OTOP /ผลิตภัณฑ์พร้อมจำหน่าย ๓. ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว/พร้อมสาธิต ๔. การละเล่น/พร้อมสาธิต ๕. สถานที่ติดต่อ/เส้นการเดินทาง ๖. สื่อ แผ่นพับประชาสัมพันธ์/ ภาพกิจกรรม ระยะเวลา 2 วัน วิธีการ ๑. จ้างเหมาดำเนินการออกแบบ จัดสถานที่ ตกแต่งร้าน ๒. จัดแสดงผลงาน ผลิตภัณฑ์ การแสดง การละเล่น ของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี งบประมาณ 19,600,000 บาท ผู้รับผิดชอบ ระดับจังหวัด