การบริหารคลังสินค้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
Advertisements

โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
วันที่ 13 มกราคม 2555 การวางแผนการผลิตรวม
(Meterial Requirement Planning)
Storage and Warehouse.
Chapter 6 Inventory Management
การจัดการสินค้าคงคลัง
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
Basic EOQ By Kawinthorn Saicharoen
Material Requirement Planning
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
Simple MRP Group กฤตนันท์ มณีรัตนาศักดิ์
การวางแผนและจัดการทรัพยากรองค์กร
การบริหารโครงการ VMI โดย องค์การเภสัชกรรม
เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์
วันที่ 20 สิงหาคม 2556 การวางแผนการผลิตรวม
เอกสารเรียนวันที่ 20 มกราคม 2555 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์
วันที่ 24 สิงหาคม 2555 การวางแผนการผลิตรวม
เอกสารเรียนวันที่ 27 มกราคม 2555
เอกสารเรียนวันที่ 7 กันยายน 2555
การจัดการพัสดุคงคลัง Inventory Management
Regional Value Chain: กลยุทธ์ โอกาส ประสบการณ์ และข้อควรระวัง
Enterprise Resources Planning (ERP )
การวางแผนความต้องการวัสดุ Material Requirements Planning : MRP
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
การจัดซื้ออะไหล่ และการจ้างงานซ่อมบำรุง
Management system at Dell
Material requirements planning (MRP) systems
ตัวแบบสินค้าคงคลัง (Inventory Model)
The supply chain management system at
ระบบการผลิต อาจารย์ วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี.
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
บทที่ 8 การจัดซื้อ บทนำ บทบาทของการจัดซื้อ กิจกรรมต่างๆ ของการจัดซื้อ
HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
E. I. SQUARE. All rights reserved
13 October 2007
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
GROUP ‘2’ slide to unlock.
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
การผลิตและการจัดการการผลิต
อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด
MG414 Supply Chain and Logistics Management
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
การควบคุม (Controlling)
Inventory Control Models
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
การจัดการสินค้าคงคลัง
การประเมินค่า [ชื่อโครงการ]
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
Warehouse Management Systems
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารคลังสินค้า

การบริหารคลังสินค้า Inventory Management

การบริหารคลังสินค้า สินค้าคงคลัง สินค้าคงคลัง (Inventory) หมายถึงวัสดุหรือสินค้าต่างๆ ที่เก็บไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการดำเนินงาน อาจเป็นการดำเนินงานผลิต ดำเนินการขาย หรือดำเนินงานอื่นๆ สินค้าคงคลังแบ่งได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ

การบริหารคลังสินค้า สินค้าคงคลังแบ่งได้เป็น 4 ประเภท วัตถุดิบ (Raw Material) คือสิ่งของหรือชิ้นส่วนที่ซื้อมาใช้ในการผลิต งานระหว่างทำ (Work-in-Process) คือชิ้นงานที่อยู่ในขั้นตอนการผลิตหรือรอคอยที่จะผลิตหรือรอคอยที่จะผลิตในขั้นตอนต่อไป โดยที่ยังผ่านกระบวนการผลิตไม่ครบทุกขั้นตอน วัสดุซ่อมบำรุง (Maintenance/Repair/Operating Supplies) คือชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรที่สำรองไว้เผื่อเปลี่ยนเมื่อชิ้นส่วนเดิมเสียหรือหมดอายุการใช้งาน สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods) คือปัจจัยการผลิตที่ผ่านทุกกระบวนการผลิตครบถ้วนพร้อมที่จะขายให้ลูกค้าได้

การบริหารคลังสินค้า การบริหารสินค้าคงคลัง หมายถึง 1. การเก็บทรัพยากรไว้ใช้ในปัจจุบัน หรือในอนาคต เพื่อให้การดำเนินการของกิจการดำเนินไปอย่างราบรื่น ผ่านการวางแผนกำหนดปริมาณสินค้าคงคลังที่เหมาะสม

การบริหารคลังสินค้า 2. การจัดการต่างๆ ที่เกี่ยวกับรายการสินค้าในคลัง ตั้งแต่รวบรวม จดบันทึกสินค้าเข้า-ออก การควบคุมให้มีสินค้าคงเหลือในปริมาณที่เหมาะสม มีระเบียบ เพื่อให้สินค้าที่มีอยู่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคทั้งในด้านแบบ สี ขนาด แฟชั่น  โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อรายงานแก่ผู้บริหารว่า “รายการสินค้าใดขายดี สินค้าใดขายไม่ดี สินค้าใดควรสั่งซื้อเพิ่ม หรือสินค้าใดควรลดราคาล้างสต็อก หรือควรตัดสต็อก เพราะสินค้าเสื่อมคุณภาพ-ล้าสมัยแล้ว”

ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง การบริหารคลังสินค้า ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง 1. เป็นการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ที่ประมาณการไว้ในแต่ละช่วงเวลา ทั้งในฤดูกาล และนอกฤดูกาล โดยธุรกิจต้องเก็บสินค้าคงคลังไว้ในคลังสินค้า 2. เป็นการรักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่ำเสมอ เพื่อรักษาระดับการว่าจ้างแรงงาน การเดินเครื่องจักร ฯลฯ ให้สม่ำเสมอได้โดยจะเก็บสินค้าที่จำหน่ายไม่หมดในช่วงที่จำหน่ายได้ไม่ดี ไว้จำหน่ายตอนช่วงเวลาที่ลูกค้า หรือผู้บริโภคมีความต้องการ ซึ่งในช่วงเวลานั้นอาจจะผลิตไม่ทันการจำหน่าย

ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง การบริหารคลังสินค้า ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง 3. ทำให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณ (Quantity Discount) จากการจัดซื้อสินค้าจำนวนมากต่อครั้ง เพื่อเป็นการป้องกันการเปลี่ยนแปลงราคา และผลกระทบจากเงินเฟ้อ เมื่อสินค้าในท้องตลาดมีราคาเพิ่มสูงขึ้น 4. ป้องกันสินค้าขาดมือ ด้วยสินค้าเผื่อขาดมือ เมื่อเวลารอคอยล่าช้า หรือบังเอิญได้คำสั่งซื้อเพิ่มขึ้นอย่างกระทันหัน

ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง การบริหารคลังสินค้า ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง 5. ทำให้กระบวนการผลิตสามารถดำเนินการต่อเนื่องอย่างราบรื่น ไม่มีการหยุดชะงัก อันเนื่องจากของขาดมือ จนทำให้เกิดความเสียหายแก่กระบวนการผลิต ซึ่งจะทำให้คนงานว่างงาน เครื่องจักรถูกปิด หรือผลิตไม่ทันคำสั่งซื้อของลูกค้า

การบริหารคลังสินค้า วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง ความประหยัด ความสมดุลของอุปสงค์และอุปทาน เพื่อป้องกันสถานการณ์ที่มีความผันแปรในการซื้อขาย

การบริหารคลังสินค้า MRP การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ (Material Requirement Process : MRP) เป็นการวางแผนความต้องการเกี่ยวกับวัตถุดิบทั้งหมดที่จะนำมาผลิต เป็นผลิตภัณฑ์ เป็นเทคนิคที่ทำให้การไหลเวียนของวัถุดิบมีประสิทธิภาพโดย จะใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการคำนวณปริมาณและเวลาที่ ต้องการวัตถุดิบนั้น เพื่อให้สามารถสั่งซื้อได้ตามปริมาณและเวลาที่ต้องการ ซึ่ง MRP นั้นถือเป็นระบบผลัก (Push System) คือ เราวางแผนว่าเราจะผลิต เท่าไหร่ แล้วเราต้องการวัตถุดิบเท่าไหร่แล้วเราจึงสั่งวัตถุดิบเข้ามา (หรือการ สั่งเมื่อมีความต้องการเท่านั้น)

การบริหารคลังสินค้า วัตถุประสงค์และประโยชน์ของ MRP - ลดปริมาณวัสดุคงคลัง - ลดเวลาในการผลิตและจัดส่งผลิตภัณฑ์ - สามารถผลิตสินค้าได้ตามOrder ที่ลูกค้าสั่ง และส่งมอบได้ ทันตามที่ลูกค้ากำหนด - สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของตลาด

การบริหารคลังสินค้า กระบวนการของ MRP จะเริ่มจากบริษัทได้รับคำสั่งซื้อหรือมีการประมาณความต้องการ (พยากรณ์ยอดขาย) ในแต่ละช่วงเวลา จะทำการประมวลผลด้วย ระบบ Com โดยใช้ข้อมูลเหล่านี้ในการจัดทำ MPS (Master Production Schedule) MPS ก็จะให้ข้อมูลกับฝ่ายจัดซื้อให้ทราบถึงความต้องการวัตถุดิบ แต่ละตัวตามรายการ BOM (Bill of Material) และตรวจเช็คปริมาณ วัตถุดิบที่ยังมีอยู่ในโกดัง (Inventory Record หรือ On-hand Inventory) เพื่อผลิตตามจำนวนที่ลูกค้าต้องการ

B. EOQ (Economic Order Quantity) การบริหารคลังสินค้า B. EOQ (Economic Order Quantity) เป็นรูปแบบของการบริหารสินค้าคงคลัง EOQ คือ ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด โดยการสั่งซื้อสินค้าในแต่ ละครั้งจะสั่งในปริมาณหรือจำนวนที่ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมต่ำที่สุด ซึ่ง ค่าใช้จ่ายรวมนั้นเกิดจากค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) และ ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บสินค้า (Carrying Cost) (ค่าใช้จ่ายสองตัวนี้จะ แปรผกผันกัน) สูตร EOQ =  2 DCo / Cc D = ความต้องการสินค้าใน 1 ปี Co = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง Cc = ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บสินค้าต่อหน่วยต่อปี

การบริหารคลังสินค้า ข้อจำกัด ของ EOQ ความต้องการสินค้ามีปริมาณแน่นอน ระยะเวลาในการสั่งซื้อจนกระทั่งได้รับสินค้า (Lead time) มี ระยะเวลาแน่นอน ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้าคงที่ ราคาสินค้าต่อหน่วยคงที่ ไม่มีการส่งคืนสินค้า ไม่มี Discount มาเกี่ยวข้อง การสั่งซื้อทุกครั้งจะได้รับสินค้าโดยการจัดส่งเพียงครั้งเดียว สินค้าไม่มีการขาด stock

การบริหารคลังสินค้า EOQ ต้องคำนึงถึง ต้นทุนในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) เช่น การออกใบสั่งซื้อ การติดตาม งานกับ Supplier ต้นทุนการเก็บรักษา (Holding Cost) เช่น ค่าประกันภัยสินค้า ค่าเช่าโกดัง สินค้า อัตราการใช้สินค้า หรือการซื้อซ้ำ (Reorder point) คำนวณจากการ พยากรณ์ และดูLead time ด้วย Reorder point เป็นการตัดสินใจว่าจะทำการสั่งซื้ออีกเมื่อไหร่ ซึ่งอาจ ต้องมีการเผื่อ Safety Stock ไว้ระดับหนึ่ง เพื่อไม่ให้เกิดการขาดแคลนวัตถุดิบ ในการผลิต สูตร Reorder point = Lead time х Demand+ Safety Stock วัน

การบริหารคลังสินค้า ประโยชน์ ของ EOQ ทำให้กิจการสามารถเผชิญกับความผันแปรของ Demand ได้ โดย ไม่ทำให้เกิดปัญหาการขาด Stock ช่วยลดต้นทุนสินค้าเนื่องจาก การสั่งซื้อในปริมาณมาก ช่วยประหยัดต้นทุนการสั่งซื้อ กระบวนการผลิตดำเนินไปอย่าง สม่ำเสมอ ไม่หยุดชะงัก

การบริหารคลังสินค้า Supply Chain Management การจัดการซัพพลายเชน หรือการจัดการห่วงโซ่อุปทาน เป็นการจัดลำดับของ กระบวนการทั้งหมดที่มีผลต่อการสร้างความพอใจให้กับลูกค้า โดยเริ่มต้นตั้งแต่ กระบวนการจัดซื้อ(Procurement) การผลิต (Manufacturing) การจัดเก็บ (Storage) เทคโนโลยีสารสนเทศ (InformationTechnology) การจัดจำหน่าย (Distribution) การขนส่ง (Transportation) กระบวนการทั้งหมดนี้จะจัดระบบให้ประสานกันอย่างคล่องตัว

การบริหารคลังสินค้า การจัดการซัพพลายเชนหรือการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ไม่ได้ ครอบคลุมเฉพาะหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์การเท่านั้น แต่ที่สำคัญ จะสร้างความสัมพันธ์เชื่อมต่อกับองค์กรอื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดหาวัตถุดิบ/สินค้า(Supplies) บริษัทผู้ผลิต (manufactures) หรือผู้จัดจำหน่าย (Distribution) รมถึงลูกค้าของ บริษัท จึงจำเป็นที่จะต้องเชื่อมโยงกระบวนการดำเนินธุรกิจทุก ขั้นตอนด้วยกันเป็นเครือข่ายให้เกิดการประสานงานกันอย่าง ต่อเนื่อง

การบริหารคลังสินค้า *** Supply Chain มีเป้าหมายคือ ทำกำไรให้ได้มากที่สุด โดยมีค่าใช้จ่ายรวมตลอดสายห่วงโซ่ต่ำที่สุด และการ บริหาร*** *** Supply Chainที่มีประสิทธิภาพ จะทำให้เกิดความ สมดุลระหว่างความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าและต้นทุนต่ำ ที่สุด***

การบริหารคลังสินค้า ประโยชน์ของการนำซัพพลายเชน เกิดความสะดวกรวดเร็วและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดำเนินงานในส่วนต่าง ๆ ลดต้นทุนรวมขององค์กร เพิ่ม ผลผลิตในกระบวนการผลิตเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดและ ประสิทธิภาพในการผลิต ขนส่ง และการบริการลูกค้าสร้าง ความได้เปรียบในการเพิ่มกำไร เนื่องจากต้นทุนโดยรวมลดลง

ใบงานที่ 7 จงหาความหมายของข้อมูลต่อไปนี้ให้สมบูรณ์พร้อมยก ตัวอย่าง 1. ระบบการขนาดสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) 2. ระบบการวางแผนความต้องการวัสดุ (MRP) 3. ระบบสินค้าคงคลังของการผลิตแบบทันเวลาพอดี (JIT)