การนำเสนอผลงาน QCC กลุ่มไดอารี่ตุ้ดซี่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
งานบริการการศึกษา.
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครเมี่ยม (Cr).
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การติดตาม (Monitoring)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
รักษ์โลก ลดร้อน ด้วยสองมือ EENT.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอผลงาน QCC กลุ่มไดอารี่ตุ้ดซี่ คำขวัญกลุ่ม ทดลอง ปรับปรุง มุ่งสู่คุณภาพที่ดี

ประวัติและความเป็นมา ข้อมูลทั่วไป เป็นโรงงานแปรรูปผลไม้เบื้องต้นเพื่อส่งวัตถุดิบ ให้แก่โรงงานดอยคำ ประวัติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2546 ได้จดทะเบียนการค้าในนาม “พงศ์สว่างพืชผล” ที่ตั้ง 506 หมู่9 ต.โป่งงาม อแม่สาย จ.เชียงราย 57130

ผลิตภัณฑ์ของพงศ์สว่างพืชผล

การเพิ่มความหวานมะม่วงนอกฤดูกาล

แนะนำสมาชิก อัจจิมา ต่อพงศ์ ชนนิกานต์ ปิยะฉัตร อุกฤษฏ์ ศุภชัย

แนะนำสมาชิก ปิยะลักษณ์ สวาลี กมลชนก กัญญาลักษณ์ คณิตฐา ภัคชุดา

ระดับการศึกษา การศึกษาเฉลี่ยอยู่ในระดับปริญญาตรี อายุเฉลี่ย 26 ปี อายุงานเฉลี่ย4ปี จดทะเบียนจัดตั้งกลุ่มวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 การประชุมกลุ่ม ตามเวลาที่สะดวกครั้งละ20นาที

ฝ่ายการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกตัดแต่ง แผนกคั้น แผนกตรวจสอบ คำนวณระยะเวลาการสุกของมะม่วงและคาดคะเนปริมาณมะม่วงให้สัมพันธ์กับ ปริมาณแรงงานในแต่ละวัน แผนกจัดซื้อ ปอกเปลือกมะม่วงรวมทั้งตัดส่วนที่เสียทิ้ง แผนกตัดแต่ง คัดกรองส่วนที่เสียออกไป และตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในน้ำมะม่วง แผนกตรวจสอบ นำมะม่วงเข้าเครื่องคั้นเพื่อแยกกากออก แผนกคั้น ทำปริมาณน้ำหนักให้ตรงตามที่กำหนดไว้ แผนก ชั่งน้ำหนัก

ขั้นตอนการผลิต 1.แช่อีทีฟอน 2.ปลอกเปลือก 3.ตัดแต่ง

ขั้นตอนการผลิต 4.คัดกรอง 5.ล้างทำความสะอาด 6.จุ่มคลอรีน3รอบ

ขั้นตอนการผลิต 7.ปั่น 8.แยกกาก 9.วัดปริมาณน้ำตาล

ขั้นตอนการผลิต 10.บรรจุลงถังปี๊ป 11.ปิดผนึก 12.นำเข้าห้องเย็น

การคัดเลือกหัวข้อปัญหา ระดับความรุนแรงของปัญหา (severity) ความถี่/โอกาสการเกิดปัญหา (Occurrence) การตรวจสอบตรวจจับ (Detection) RPN 1. เพิ่มความหวานมะม่วงนอกฤดูกาล 4 5 100 2. แก้ปัญหาสีของน้ำมะม่วงบางล็อตไม่ตรงตามเกณฑ์หลังจากปั่นแล้ว 80 3. ลดการสูญเสียน้ำมะม่วงในกระบวนการแปรสภาพ 3 75

การเพิ่มความหวานมะม่วงนอกฤดูกาล มูลเหตุจูงใจ 1.เพื่อการยอมรับวัตถุดิบจากโรงงานดอยคำ ซึ่งได้มีการตั้งเกณฑ์ปริมาณน้ำตาลอยู่ที่ 12 Brix 2.เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่พงษ์สว่างการค้า 3.เป็นปัญหาในช่วงนอกฤดูกาลซึ่งมีระยะเวลาที่ยาวกว่าในฤดูกาลมะม่วง

แผนการดำเนินงาน

ตารางเก็บข้อมูลก่อนการปรับปรุง เครื่องมือ พนักงานในแต่ละช่วงเวลา วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 Average Brix 08.00-10.00 น. 7.9 8 8.3 10.2 7 10.6 11.2 10.00-12.00 น. 7.5 7.8 8.9 9.8 11 11.5 12.00-14.00 น. 8.5 10 7.3 10.8 12 14.00-16.00 น. 7.6 9 9.6 10.9 Total 8.2 8.7 9.9 7.4 11.4 9.2 เก็บข้อมูล7วัน รวมทั้งหมด27ครั้ง เฉลี่ยความหวานของมะม่วงโชคอนันต์นอกฤดูกาลอยู่ที่ 9.2 Brix วันที่เก็บข้อมูล:22-28 ก.พ. 2559 ผู้เก็บข้อมูล:จันติ้บ ศิขรินทร์ ติ้บ

เป้าหมาย เพิ่มความหวานมะม่วงนอกฤดูกาลให้ได้ 12 Brix±0.5 Brix ช่วงเวลาฤดูกาลมะม่วงคือเดือนสิงหาคมถึงมีนาคม(8เดือน) ส่วนที่ทำได้ในปัจจุบัน

วิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิ why why chart

การดำเนินการแก้ไข ปัญหาที่ 1 ผลไม้แช่น้ำคลอรีนถึง 3 รอบ ในแต่ละรอบใช้เวลานานเกินไป การพิสูจน์ปัญหา กลุ่มได้เก็บตัวอย่างในน้ำคลอรีนที่ผ่านการจุ่มใน1รอบคือ2ชั่วโมง แล้ววัดปริมาณน้ำตาล ซึ่งพบสูงถึง1.5Brix ซึ่งมาจากความหวาน จากมะม่วงละลายลงในน้ำไป

การดำเนินการแก้ไข

การดำเนินการแก้ไข ปัญหาที่ 2 คนงานหยิบมะม่วงลูกที่ยังไม่ฉ่ำมาปลอก การพิสูจน์ปัญหา ดูการทำงานของพนักงานแผนกตกแต่ง โดยพบว่าในบางรายเกิดความมักง่าย หยิบมะม่วงที่ยังไม่ฉ่ำมาตกแต่ง จึงได้นำมะม่วงชิ้นนั้นมาวัดค่าความหวาน พบว่ามีค่าความหวานเพียง7.1Brix เท่านั้น

การดำเนินการแก้ไข ปัญหาที่ 3 มะม่วงเน่า เกิดจากใช้สารบ่มที่ไม่เหมาะสม การพิสูจน์ปัญหา มะม่วงบางส่วนเน่าเกินไปเกิดจากสารบ่มอีทีฟอนทำให้ต้องทิ้ง มะม่วงไป

การดำเนินการแก้ไข

ตารางบันทึกผลการทดลอง ค่าความหวานของมะม่วง กลุ่มควบคุม (ไม่ใช้สารบ่ม) วันที่ ค่าความหวานของมะม่วง กลุ่มควบคุม (ไม่ใช้สารบ่ม) อีทีฟอน แก๊สบ่ม ขี้เถ้าแกลบ ค่าเฉลี่ย 4 6.9 9.0 11.2 7.8

ภาคผนวค ตัวอย่างค่าbrixของแก๊สบ่ม

ผลการทดลอง กลุ่มควบคุม ขี้เถ้าแกลบ อีทีฟอน แก๊สบ่ม

ตารางเก็บข้อมูลหลังการปรับปรุง เครื่องมือ พนักงานในแต่ละช่วงเวลา วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 3 วันที่ 4 วันที่ 5 วันที่ 6 วันที่ 7 Average Refractrometer 08.00-10.00 น. 11.2 9.8 11.8 12.8 12.9 13.1 12.5 10.00-12.00 น. 10.9 11.4 12.7 12.6 12.0 12.00-14.00 น. 12.4 9.9 11.9 14.00-16.00 น. 10.8 11.6 11.5 11.3 Total 10.3 12.1 12.3

กราฟเปรียบเทียบก่อนและหลังการปรับปรุงเทียบกับเป้าหมาย

เปลี่ยนจากการจุ่มน้ำคลอรีน3ครั้ง ให้เหลือเพียง 2 ครั้ง ครั้งละ2วินาที มาตรฐานในการทำงาน เปลี่ยนจากการจุ่มน้ำคลอรีน3ครั้ง ให้เหลือเพียง 2 ครั้ง ครั้งละ2วินาที

มาตรฐานในการทำงาน ให้มีการคัดแยกลูกมะม่วงที่ฉ่ำและไม่ฉ่ำออกจากกัน แล้วนำเฉพาะลูกที่ฉ่ำส่งต่อให้คนงานในแผนกตกแต่ง มะม่วงฉ่ำ มะม่วงไม่ฉ่ำ

ใช้แก๊สบ่มในการเร่งการสุกของมะม่วงโชคอนันต์ในช่วงมะม่วงนอกฤดูกาล มาตรฐานในการทำงาน ใช้แก๊สบ่มในการเร่งการสุกของมะม่วงโชคอนันต์ในช่วงมะม่วงนอกฤดูกาล

สรุปผลการทดลอง ก่อนทำ QCC หลังทำQCC เป้าหมาย ผล 9.2 Brix 11.9 Brix 12 Brix 99.17% สามารถเพิ่มค่าความหวานของมะม่วงนอกฤดูกาลได้จากระดับค่าความหวาน 9.2 Brix เพิ่มเป็น 11.9 Brix คิดเป็น 99.17%

ผลทางอ้อม

การติดตามผล ทำการติดตามผล 7 วัน วันล่ะ 4 ช่วงเวลา รวมทั้งหมด 28 ครั้ง ได้ระดับค่าความหวานเฉลี่ยเท่ากับ 11.8

การติดตามผล ก่อนการปรับปรุง ได้ค่าความหวาน 9.2 คิดเป็น 76.67 % ได้ค่าความหวาน 9.2 คิดเป็น 76.67 % เป้าหมายที่ตั้งไว้ ได้ค่าความหวาน 12 คิดเป็น 100 % หลังการปรับปรุง ได้ค่าความหวาน 11.9 คิดเป็น 99.17 % การติดตามผล ได้ค่าความหวาน 11.8 คิดเป็น 98.33 %

แผนงานในอนาคต ลิ้นจี่เป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้เป็นอันดับ1ให้แก่โรงงานพงษ์สว่าง ทำเรื่องใหม่ เรื่องลดการสูญเสียน้ำของลิ้นจี่ในกระบวนการแปร สภาพเพื่อตอบต่อสนองฤดูกาลลิ้นจี่ที่ล้นตลาดในเดือนพฤษภาคมที่ จะถึง

บทเรียนที่ได้จากการทำ QCC เป็นการบริหารงานด้านวัตถุดิบ ขบวนการผลิตและผลผลิต ให้ ได้คุณภาพตามความต้องการของลูกค้า โดยมีเป้าหมาย ป้องกันและลดปัญหาการสูญเสียทั้งวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิต เวลาการทำงาน และผลผลิต