Introduction List View Prawit Pimpisan Computer Science RERU.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Advertisements

จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
Pro/Desktop.
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวก้องนภา คณาพงษ์ Section B07 (NS11) โปรแกรม WINRAR นางสาวก้องนภา คณาพงษ์ ns คณะพยาบาลศาสตร์
การใช้งาน Microsoft Excel
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
การใช้โปรแกรม Microsoft Word XP Microsoft Word XP.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
Microsoft Powerpoint Microsoft Powerpoint อีกโปรแกรม หนึ่งของชุด Microsoft Office โปรแกรม Powerpoint นี้ใช้สำหรับการทำพรีเซ็นเทชั่น หรือการนำเสนอข้อมูล.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
Word ที่ไม่ใช่แค่ Word
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Introduction to VB2010 EXPRESS
Introduction SQLite Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
บทที่ 3 Windows OUTLINE คำสั่งเกี่ยวกับไฟล์และโฟลเดอร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Android Programming Multimedia Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
SPEI R & R Studio Program User Manual.
Basic Input Output System
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
The Collections Framework
การใช้งานเครื่องมือพื้นฐานของ BI
Object-Oriented Programming Paradigm
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ความรู้เบื้องต้นโปรแกรม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
คำสั่งหลักที่ใช้ในการสร้างตารางของภาษา HTML มีดังนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction List View Prawit Pimpisan Computer Science RERU

List View ListView เป็นการแสดงรายการลิสของข้อมูล อุปกรณ์ Android ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก มีพื้นที่ใช้งานอย่างจำกัด ถ้ารายการมีจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการแสดงเป็น list

Adapter to ListView การแสดง ListView อย่างง่ายที่สุดคือการใช้ Adapter Adapter ทำหน้าที่แปลงข้อมูล Array ไปแสดงยัง ListView

Simple ListView (layout) สร้าง New Project -> Empty Activity จัดตำแหน่งให้เต็มจอ โดยการลบ padding ที่ layout ออก เพิ่ม ListView ลงไปที่หน้าจอ

Simple ListView (activity) สร้างข้อมูล Array สำหรับรายการลิส ส่งข้อมูลเข้า adapter ชื่อ simple_list_item_1 เพื่อทำการจัดเรียงแล้วแปลงเป็นลิส ส่งรายการลิสไปที่ ListView

ตรวจจับการแตะรายการ ตรวจจับการแตะรายการโดยการ implement OnItemClickListener เข้ามา ดักจับการแตะด้วยเมธอด setOnItemClickListener() ใส่คำสั่งการทำงานเมื่อมีการแตะที่เมธอด onItemClick()

การใช้งาน ArrayList เป็นการกำหนดขนาด array แบบ dynamic ArrayList สามารถเพิ่มลบข้อมูลในขณะ Runtime ได้ เป็นการกำหนดขนาด array แบบ dynamic สามารถ เพิ่ม ลบ รายการตามตำแหน่งได้

การใช้งาน ArrayList จากตัวอย่างก่อนหน้านี้ ทดลองใช้งาน ArrayList แทน array ทดลองใช้เมธอดของ Arraylist ที่ทำการ เพิ่ม ลบ และแสดงข้อมูล add(), remove(), get()

การใช้งาน ArrayList กับ HashMap ถ้าต้องการเก็บ array แบบหลายคอลัมน์ สามารถทำได้หลายวิธี เช่นวิธี Hashmap สามารถนำไปประยุกต์กับการเรียกใช้ข้อมูลจาก database ได้ HashMap เป็นลักษณะของการผูกคีย์กับค่าข้อมูล <key, Value>

ใช้ ArrayList และ Class ข้อมูลลิส สร้างคลาสชื่อ Data เพื่อใช้เป็นต้นแบบเก็บข้อมูลแต่ละ Record คลิกขวาที่ชื่อแพคเกจในโฟลเดอร์ java : New->Java Class

ใช้ ArrayList และ Class ข้อมูลลิส (Data.Class) อักษรตัวแรกเป็นตัวใหญ่

ใช้ ArrayList และ Class ข้อมูลลิส (Data.Class) สร้าง Class ที่เก็บข้อมูลแต่ละ record ประกอบด้วยฟิวล์ของ title, description, icon

Custom Adapter การสร้าง Adapter ในตัวอย่างที่ผ่านมา (simple_list_item_1) มีรูปแบบการแสดงแบบง่ายๆ คือ แต่ละแถวมีเพียง 1 ข้อความ Simple Adapter เหมาะสำหรับทำการทดสอบ หรือสร้างเมนู หรือรายการต่างๆที่ไม่ต้องการรายละเอียดมาก ถ้าต้องการรายละเอียดการแสดงให้กับ ListView ให้มากขึ้นเช่น มีภาพ มีข้อความให้แต่ละรายการ(แถว) จะต้องสร้าง Custom Adapter Custom Adapter คือ Adapter ที่สร้างรายละเอียดรายการจัดแสดง โดยกำหนดรายละเอียดที่จะแสดงแต่ละแถวขึ้นมาเอง

Custom Adapter - layout เตรียม Layout หรับแสดงแต่ละแถว (Row) ข้อมูลลิส ประกอบด้วยข้อมูลหลายๆแถวเรียงต่อกัน สร้าง layout เพื่อใช้เป็นต้นแบบให้กับแต่ละแถวรายการ สร้าง layout ขึ้นมาใหม่ ทดลองสร้าง layout โดยกำหนดให้ตำแหน่งภาพวางซ้าย และข้อความมี 2 บรรทัด

Custom Adapter - layout จัดรูปแบบ layout ที่ประกอบด้วย ImageView และ Text จัดวาง ImageView ไว้ซ้าย และ TextView 2 ชิ้น

Custom Adapter – list class ทดลองใช้คลาสที่สร้างจากตัวอย่างก่อนหน้านี้

Custom Adapter – adapter class สร้าง class สำหรับ Adapter ทำหน้าที่ในการจัดเรียงรูปแบบ array หรือ list ให้เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนด จัดเรียงข้อมูลก่อนส่งออกจอภาพ Class ที่ทำหน้าที่ adapter จะต้อง extends BaseAdapter ทำการ implements เมธอทต่างๆ โดยเมธอดที่สำคัญต่อการแสดงผลคือ getView

Custom Adapter – adapter method getCount - เอาไว้บอกว่ามีข้อมูลอยู่ทั้งหมดกี่ชุด (จำนวน Array ที่ใช้กำหนดเป็นข้อมูล) getItem - เอาไว้ดึง Object ใดๆแล้วแต่จะกำหนด เช่น List View ที่มี Text View เป็นสมาชิกหลัก เพื่อง่ายต่อการศึกษาสามารถ Return เป็น Text View ของข้อมูลแถวที่ต้องการได้ getItemId - คล้ายๆกับ getItem แต่เป็น ID ของ Object นั้นๆ getView - เอาไว้กำหนดค่าให้กับ Layout ที่ใช้แสดงในแต่ละแถวของ List View

Custom Adapter – adapter class ก่อนทำการกำหนดรายละเอียดให้กับ view ใน adapter class จะต้องมีการกำหนดค่าข้อมูลที่ต้องการแสดงให้กับ adapter ก่อน สร้าง constructor เพื่อกำหนดข้อมูลรายละเอียดรูปแบบที่จะทำการส่ง สร้าง class ขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับแสดงรายการแต่ละแถว (หลีกเลี่ยงการใช้ findViewById เพื่อประสิทธิภาพความเร็วในการทำงานสูงสุด)

Custom Adapter – adapter class ทำการ Implement เมธอด getView โดยการกำหนดรายละเอียดสิ่งต่างๆที่ต้องการแสดงในแต่ละแถว แต่ละแถวจะแสดง Item รูปแบบเดียวกัน สร้างรูปแบบการจัดแสดงแถวเพียงแค่ครั้งเดียว นำรูปแบบที่เคยสร้างไว้นำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) เพื่อประสิทธิภาพการทำงานที่รวดเร็ว

Icon Image ทำการเพิ่มรูปที่ต้องการใช้เป็น Icon ให้กับแต่ละ List รายการ เลือกรูปขนาด Icon (100 -150px) Copy รูปมาวางไว้ที่โฟลเดอร์ mipmap เลือกวางไว้ที่ขนาด mdpi (Baseline)

MainActivity ทำการแสดงรายการ ListView โดยการกำหนด Data Source ขึ้นมาเอง ทดลองกำหนด Data Source โดยใช้เป็นข้อมูลชนิด ArrayList ให้ Item แต่ละชิ้นของ ArrayList เป็น class ตามที่กำหนด (กำหนด template เป็น data class) แต่ละ list รายการ ทำการเพิ่มรายละเอียดเข้าไป (ชื่อ, รายละเอียด, ....) แล้วเพิ่มลงไปใน arrayList นำ Data Source ที่ใส่ค่าเสร็จแล้ว ใส่ลงไปให้กับ Adater ที่สร้างขึ้นมา

สรุปการทำงานของ Custom Adapter หลักการทำงานคือ สร้าง Adapter ขึ้นมาใหม่ ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล List มาจาก MainActivity โดยที่ใน Adapter นั้นจะมี Layout ภายในที่ทำหน้าที่จัดรูปแบบในแต่ละบรรทัด (แต่ละ Row) การทำงานของ Custom Adatper ที่สร้างมานั้นใช้หลักการนำ object ของแถวที่ผ่านไปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่ เรียกว่า View Holder Design Pattern ซึ่งจะมีการสร้าง object เพื่อเก็บแถวเอาไว้ โดยมี tag เป็นตัวอ้างอิง เมื่อเลื่อน Scroll เรื่อยๆ ระบบ Android จะทำการตรวจสอบว่า Object ไหนที่ไม่ใช้แล้ว (หลุดจอ) ก็จะนำกลับมาใช้ใหม่โดยเรียกตรงจาก tag เลย ไม่ต้องเสียเวลาในการสแกนหาด้วย findViewById อีก ทำให้ระบบลิสมีประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้น