01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 10-11 : 5 พ.ย. 60.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดการความรู้ Knowledge Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460443 การพัฒนาสังคม Social Development 10-11 : 5 พ.ย. 60

ทฤษฎีและแนวคิดความจำเป็นขั้นพื้นฐาน Basic Human Needs Theory : BHN Basic Minimum Needs Theory : BMN

Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด) ภายใต้กระแสการพัฒนาที่หลากหลายของโลก ทำให้การพัฒนาในเกือบทุกประเทศปรากฏผลให้เห็นอย่างกว้างขวางว่า - คนรวยรวยขึ้น คนจนจนลง : สะท้อนให้เห็นความไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างแท้จริงและทันเหตุการณ์ - ประเด็นการพัฒนาคือ การแก้ไขปัญหาความยากจน หรือ “การเสริมสร้างคุณภาพชีวิต” : ความเหมาะสมที่ประชาชนพึงจะได้รับคืออะไร : ควรที่จะอยู่ในระดับใดหรืออัตราขั้นต่ำที่พึงจะได้รับ

Paradigm (กระบวนทัศน์/แนวคิด) แนวคิดและทฤษฎีพัฒนามาช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 ปรับ เปลี่ยนกรอบแนวคิดใหม่จาก การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ มาเป็นเน้น การพัฒนามนุษย์ - ลักษณะของการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชน - การพัฒนาสังคมเป็นแกนนำ “มนุษย์เป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดของโลก” เชื่อว่า ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวไม่อาจแก้หรือขจัดปัญหาความยากจนได้เสมอไป - คนจำนวนมากที่ยังไม่อาจได้สิ่งซึ่งตนต้องการเป็นพื้นฐาน - ขณะที่สภาพเศรษฐกิจของประเทศเติบโต แต่ยังคงไว้ด้วยความยากจน - ความเหลื่อมล้ำและความแตกต่างทางฐานเศรษฐกิจและสังคมแพร่หลาย

ความเป็นมาของแนวคิดและทฤษฎี ผลงาน : International Labour Organization, ILO เสนอ : World Employment Conference 2519 จุดกำเนิดทฤษฎี : 1) ความสำเร็จของการพึ่งพาตนเอง : ความสำเร็จการพัฒนาของจีน (โครงการต้าจ้าย) ในแนวคิด “Walking on Two Legs” การพัฒนาด้วยลำแข้งตนเอง/การพึ่งตนเองเป็นหลัก : - อาศัยความช่วยเหลือจากภายนอกให้น้อยที่สุด - เน้นพัฒนาชนบทให้ช่วยเหลือและร่วมมือในชุมชนมากที่สุด - ประชาชนเป็นผู้กำหนดความจำเป็นพื้นฐานชุมชน

2) การรวมตัวนักวิชาการเสนอทางเลือกการพัฒนาใหม่ ความเป็นมาของแนวคิดและทฤษฎี 2) การรวมตัวนักวิชาการเสนอทางเลือกการพัฒนาใหม่ Dag Hammarskjold : Another Development กลุ่มนักวิชาการระหว่างประเทศที่เรียกว่า The Club of Rome เป็นกลุ่มนักวิชาการที่ปรึกษาองค์กรระหว่างประเทศที่มีประสบการณ์จากการ ศึกษาทางการพัฒนาที่เกิดขึ้นทั่วโลก ยอมรับว่า “อิทธิพลบริษัทข้ามชาติ (Multi Cooperation) ที่มีต่อการพัฒนา ประเทศต่างๆ ในโลก อาจนำไปสู่การทำลายตนเองของโลกในอนาคต” - เกิดภาวะการขาดแคลนอาหารและอดอยากทั้งที่ประเทศตะวันตกมีอาหารเหลือเก็บอยู่หลายปี แต่ประเทศในแอฟริกาไม่มีอะไรจะบริโภค - ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมข้ามชาติจะดึงเอาทรัพยากรส่วนการยังชีพ (ประเทศบริวาร) เข้าสู่ประเทศที่มีอำนาจ (ประเทศศูนย์กลาง) - ระบบการพัฒนาอุตสาหกรรมโลกมีปัญหามลภาวะต่างๆ จนทำให้เกิดการแพร่กระจาย และเพิ่มปริมาณมากขึ้น ซึ่งมีแต่จะขยายตัวมากขึ้นจนเป็นอันตรายต่อทุกคนในประชาคมโลก

ความเป็นมาของแนวคิดและทฤษฎี นักวิชาการ เสนอรายงานทั้ง 3 ฉบับ ในแง่การพัฒนาว่า 1. Limit to Growth จำกัดการเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. Manland at the Turning Point สภาวะมนุษยชาติกำลังมาถึงจุดที่ จะเปลี่ยนกลับ (Back to the Nature) 3. Reshaping the International Economic Order การจัดรูปแบบ ระหว่างประเทศหรือการจัดระเบียบเศรษฐกิจระหว่างประเทศใหม่ ชี้ให้เห็นว่า การพัฒนาที่พึ่งตนเองโดยคำนึงถึงสภาพท้องถิ่นจะทัดทานอิทธิพลบริษัทข้ามชาติให้ลดน้อยลง

ความเป็นมาของแนวคิดและทฤษฎี

ความเป็นมาของแนวคิดและทฤษฎี

ความเป็นมาของแนวคิดและทฤษฎี 3) การตอบสนองข้อเสนอเรียกร้องของทฤษฎีพึ่งพา : ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) ไม่ได้เสนอแนะขั้นตอน กระบวนการเชิงเทคนิค/กลไกอย่างชัดเจนเพื่อพัฒนา (Mechanicaformal Formulation) 4) การแก้ไขปัญหาความล้มเหลวทฤษฎีภาวะทันสมัย : ปัญหาการดำเนินงานพัฒนาตามกรอบแนวคิดและทฤษฎีภาวะทันสมัยเกิดปัญหาการพัฒนาภาวะด้อยพัฒนา (Development of Underdevelopment)

สังคมจะต้องสร้างการพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการ แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น สังคมจะต้องสร้างการพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการ และความจำเป็นที่จะทำให้ประชาชนสามารถดำรงชีวิตอยู่ อย่างเหมาะสมตามสภาพได้ 1. Johan Gultung : เสนอความต้องการที่จำเป็นต่อการดำเนิน ชีวิตในสังคม นอกจากการอุปโภคบริโภควัตถุปัจจัย มนุษย์ยังมีความ ต้องการที่แฝงเร้นและฝังลึกอยู่ในจิตใจ 4 ประการ คือ 1.1) Security needs ความมั่นคงปลอดภัยของมนุษย์ต้องการ ความอยู่รอดและหลีกเลี่ยงความขัดแย้งแบบรุนแรงทั้งระดับบุคคลและระดับ สังคม

แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 1.2) Welfare needs ความจำเป็นในสวัสดิภาพในการต้องยังชีพ โดยต้องการปัจจัยขั้นพื้นฐานด้านเครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค การศึกษา นันทนาการ และการพักผ่อนหย่อนใจ (สวัสดิภาพ 3 วัย) คือ วัยเจริญเติบโต วัยทำงาน วัยชรา 1.3) Identity needs ความเป็นเอกลักษณ์ของตน มนุษย์ต้องการที่ จะได้รับการยอมรับและอยู่ร่วมกันได้กับคนในสังคมอย่างมีความผูกพันกัน ไม่ต้องการสภาวะความแปลกแยกความมีศักดิ์ศรีและอิสรภาพแห่งตน 1.4) Freedom needs ความมีเสรีภาพ มนุษย์ต้องการมีเสรีภาพใน การคิด การพูด การตัดสินใจ การเลือกวิถีชีวิตของตนเอง

2) Paul Streeten : แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น จำแนกความจำเป็นขั้นพื้นฐานออกเป็น 2 ประการ 2.1 ความต้องการทางกายภาพ เป็นสิ่งของวัตถุต่างๆ อาหาร ที่อยู่ การคมนาคมและการบริการต่างๆ 2.2 ความต้องการทางจิตภาพ เป็นสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ ความมั่นใจ ตนเอง การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การยอมรับ การเข้ามีส่วนร่วม

3. International Labour Organization (ILO) : แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 3. International Labour Organization (ILO) : กำหนดนโยบายความจำเป็นพื้นฐานสำหรับผู้ใช้แรงงาน 1) Private Consumption การบริโภคของคนงานจะต้องมี : - อาหารพอกิน - ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม - มีเครื่องนุ่งห่มที่พอเพียง - มีอุปกรณ์เครื่องใช้ตามความจำเป็น

3. International Labour Organization :ILO แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 3. International Labour Organization :ILO 2) Public Support คนงานต้องการบริการสาธารณะ ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการอุปโภค บริโภคสำหรับชุมชน เช่น - น้ำดื่มที่สะอาด - ความสะอาดของสิ่งแวดล้อม - การคมนาคมที่สะดวก - การให้บริการทางการศึกษา และสาธารณสุข

4. Mahbub ul Haq เสนอแนวคิดเชิงนโยบายการ แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 4. Mahbub ul Haq เสนอแนวคิดเชิงนโยบายการ ตอบสนองความต้องการของรัฐ โดยมุ่งเน้น : 1) ต่อสู้กับความยากจน 2) ต่อสู้กับภาวะทุโภชนาการ 3) ต่อสู้กับความเจ็บไข้ได้ป่วย 4) ต่อสู้กับความไม่รู้หนังสือ 5) ต่อสู้กับการว่างงาน 6) ต่อสู้กับความไม่เป็นธรรม

5. Mchale เสนอให้มีการกำหนดความจำเป็นขั้นพื้นฐานไว้ แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 5. Mchale เสนอให้มีการกำหนดความจำเป็นขั้นพื้นฐานไว้ ในข้อกำหนดของการพัฒนาประเทศ 1) Basic Need จะต้องกำหนดในแผนพัฒนาประเทศอย่างชัดเจน และ องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา จำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ 2) Basic Need จะต้องสอดคล้องกับอุดมการณ์ของสังคมหรือประเทศ นั้นๆ โดยประชาชนสังคมหรือประเทศนั้นเป็นผู้กำหนด 3) ประชาชนควรมีส่วนร่วมในการระบุขอบข่าย/ประเมินคุณค่า และ ระบุความจำเป็นขั้นพื้นฐานของตนเอง

6. คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 6. คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สนง. พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นำแนวคิด Basic Minimum Needs มากำหนดเป็นเป้าหมายการพัฒนา ชนบท โดยมีความมุ่งหวัง : กำหนดให้การพัฒนาชนบทมีเป้าหมายที่เป็นรูปธรรมเพื่อที่จะ สามารถประเมินและวัดผลการพัฒนาได้ กำหนดเพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการกำหนดบทบาทหน้าที่ของ หน่วยงานของรัฐในงานพัฒนาชนบท 3) กำหนดเพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามและตรวจสอบ นโยบาย และมาตรการดำเนินงานของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ 4) กำหนดเพื่อที่จะให้มีการประสานแผนประสานกิจกรรมการพัฒนา ชนบทในระดับปฏิบัติการ

แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น ในปี 2524 เป็นยุคเริ่มต้นได้สร้างตัวแบบที่มีตัวชี้วัดถึง 49 ตัว ต่อมาในปี 2526 มีตัวชี้วัด 9 ตัว และปัจจุบันมีตัวชี้วัด 8 ตัว (จปฐ.) : 1) ประชาชนในครอบครัวควรต้องมีอาหารการกินที่ถูกสุขลักษณะ และปริมาณเพียงพอ 2) ประชาชนในครอบครัวมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 3) ประชาชนวัยทำงานมีงานทำ มีเสรีภาพในการประกอบการ มีสภาพแวดล้อมการทำงานที่เหมาะสม

แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 4) ประชาชนมีสิทธิได้รับบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการดำรงชีพ 5) ประชาชนมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน 6) ครอบครัวมีการผลิตพอดำรงชีพ 7) สามารถควบคุมช่วงเวลา และจำนวนบุตร 8) ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาความเป็นอยู่ 9) ประชาชนมีการพัฒนาจิตใจให้ดีขึ้น

Hollis B. Chenery and Ahtuwatia เสนอมาตรการทางการพัฒนา แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา : ความจำเป็น 7. Redistribution with Growth Hollis B. Chenery and Ahtuwatia เสนอมาตรการทางการพัฒนา ที่จะมีการควบคุมความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดการ พลวัตรของการกระจายรายได้ (Dynamic Redistribution) ที่สามารถ แก้ไขปัญหาความยากจน การว่างงานและความไม่สมดุลกัน

สาระสำคัญทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน ทฤษฎีระดับกลาง (Middle-Range Theory) ไม่ใช่ ทฤษฎีหลัก (Grand theory) ที่แพร่หลายทุกประเทศ 1) จุดมุ่งหมายการพัฒนา : มุ่งสนองตอบความจำเป็นขั้นพื้นฐานที่ต้องการของ ประชาชนเป็นหลัก 2) สาขาการผลิตที่มุ่งเน้น : การเกษตรเป็นแกนนำสำคัญ ประชากรมีจำนวนมาก และยังยากจน เจ็บป่วยและคุณภาพชีวิตต่ำ

สาระสำคัญทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 3) พื้นที่ให้ความสำคัญ : เขตพื้นที่ชนบทที่มีประชาชนประกอบอาชีพภาคการ เกษตร โดยพัฒนาโครงสร้างขั้นพื้นฐานสนับสนุนการผลิต ภาคเกษตร 4) การจัดลำดับความสำคัญการพัฒนา : อาศัยกลไกการตกลงทางการเมืองและสังคมเพื่อการ กำหนดเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐานก่อนแล้วจัดลำดับสำคัญ การพัฒนา

สาระสำคัญทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 5) วีถีการผลิต : ให้ความสำคัญกับการใช้แรงงานอย่างเข้มข้นเพื่อให้ เกิดการจ้างงานและแก้ไขปัญหาการว่างงานที่เกิดขึ้น 6) เทคโนโลยีการผลิต : เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต โดยเป็นเทคโนโลยีภายในประเทศ 7) แหล่งทุนในการพัฒนา : การสะสมทุนภายในประเทศ สังคมและชุมชนจะเอื้อ ต่อการพัฒนามากกว่าภายนอกประเทศ

สาระสำคัญทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 8) การวัดผลการพัฒนา : พิจารณาจากสวัสดิการสังคม และการเพิ่มคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในสังคม 9) ความสัมพันธ์ระหว่างสาขาการผลิต : การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการผลิตและการค้าให้ ความสำคัญแก่สาขาการเกษตรเป็นหลัก พร้อมทั้งผลิต ผสมผสาน

สาระสำคัญทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 10) การวางแผนการพัฒนา : กำหนดจากระดับล่าง (bottom up approach) โดย สนองความต้องการประชาชนอย่างแท้จริง มุ่งใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นและทักษะประชาชนให้ เกิดประโยชน์สูงสุด การเพิ่มศักยภาพการพัฒนาเพื่อการ พึ่งพา ตนเองของชุมชน

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 1. การเปลี่ยนแปลงความคิดและความเชื่อเกี่ยวกับประเด็น ต่างๆ : - รายได้ไม่ใช่สิ่งสำคัญในการพัฒนา - อุตสาหกรรมไม่ได้เป็นแนวทางการพัฒนา - กลไกการตลาดไม่ใช่นำไปสู่การพัฒนาเสมอ - ชุมชนเมืองไม่ใช่ใจกลางของประเทศ - ฯลฯ

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 2. การประชุมสัมมนาและเสนอปัญหาการพัฒนาร่วมกัน ระดับนานาชาติ : - ที่ประชุม Alma Ata ประเทศสาธารณรัฐยูเคน “การพัฒนาสาธารณสุข” ปี 2000 “Health for All in 2000” - ที่ประชุม Cocoyoc “การพัฒนาการศึกษา” ความ พร้อมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนา - ที่ประชุม Karachi ประเทศปากีสถาน “การพัฒนาคุณภาพชีวิต”

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 3. การคำนึงถึงปัญหา และวิธีการแก้ไขความสมดุลต่างๆ : - การพัฒนาเมือง = การพัฒนาชนบท - การพัฒนาอุตสาหกรรม = การพัฒนาเกษตร - เทคโนโลยีพื้นฐาน = เทคโนโลยีขั้นสูง - ฯลฯ 4. การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศการพึ่งตนเองใน ระดับภูมิภาคต่างๆ

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 5. การให้ความสำคัญในการพัฒนาต่างๆ : 5.1 ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ส่งผลดีต่อ - การพัฒนาเกษตรกรรายย่อย (Small holder agriculture) - ผู้ประกอบกิจการที่อยู่ในสาขาไม่เป็นทางการ (Informal sector) - ผู้ประกอบการรับช่วง (Sub contract) เช่น เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกิน แรงงานรับจ้าง เป็นต้น

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 5.2 การให้ความสำคัญกับการพัฒนาชนบทเพื่อยกระดับ มาตรฐานความเป็นอยู่ของคนในชุมชนชนบท : - การยกระดับผลผลิตให้สูงขึ้น - การให้บริการของรัฐถึงมือประชาชนให้มากขึ้น เช่น น้ำใช้บริโภค อุปโภคและการเกษตร ระบบสื่อสาร การคมนาคม - กระจายอำนาจการตัดสินใจและกิจกรรมการวาง แผนออกสู่ภูมิภาคและท้องถิ่นให้มากขึ้น (Land Reform)

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 5.3 การให้ความสำคัญเป็นพิเศษต่อเทคนิคการผลิต - การใช้แรงงานมากกว่าการใช้ทุน (Labor intensive technique) - การสร้างงาน - ประหยัดการใช้ทุนและเงินตราต่างประเทศ - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology)

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจำเป็นขั้นพื้นฐาน 5.4 การให้ความสำคัญกับการควบคุมประชากรให้มี อัตราการเพิ่มที่เหมาะสม เพราะความยากจนและอัตรา การว่างงาน มีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับการมีอัตราการเพิ่ม ของประชากรในระดับสูง 5.5 กำหนดกลุ่มประชากรยากจนที่ชัดเจนและถูกต้อง เพื่อเป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา และการรับประโยชน์ จากการพัฒนาที่สมควร โดยสร้างโอกาสให้กลุ่มยากจน เข้าถึงระบบบริการของรัฐ โดยเฉพาะการศึกษา การบริการ สาธารณสุข ที่อยู่อาศัย การคมนาคม การชลประทาน