เทคนิคการนำเสนอผลงานด้วย PowerPoint 2003 อ้างอิง โดย ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด http://gotoknow.org/blog/thainewmedia http://thainewmedia.blogspot.com
หัวข้อเนื้อหา ทำไมต้องนำเสนอด้วย PowerPoint การวางแผนการนำเสนอ หลักการออกแบบ เทคนิคการผลิต
ทำไมต้องนำเสนอด้วย PowerPoint แก้ไขข้อความได้ง่าย ภาพที่ออกมาคมชัด ง่ายต่อการควบคุมการเปลี่ยนสไลด์ เพิ่มภาพประกอบได้ ใส่ภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียงได้ พิมพ์ออกเพื่อเตรียมตัวนำเสนอ
การวางแผนและเตรียมการนำเสนอ วิเคราะห์สถานการณ์ รวบรวมข้อมูลข่าวสาร หลักฐานอ้างอิง วางโครงเรื่องในการนำเสนอ กำหนดเทคนิคและเตรียมโสตทัศนูปกรณ์ ทดลอง ปรับปรุง และซักซ้อมการนำเสนอ
คำถามหลัก ที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์สถานการณ์ คำถามหลัก ที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์สถานการณ์ WHAT เสนอเรื่องอะไร ? WHY เสนอทำไม มีวัตถุประสงค์อะไร ? WHOM เสนอต่อใคร ผู้ฟังเป็นใคร ? WHO (ผู้นำเสนอ) เสนอในฐานะใด ? WHERE เสนอที่ไหน สภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร ? WHEN เสนอเมื่อไร สถานการณ์เป็นอย่างไร ? HOW เสนออย่างไร (จึงประสบความสำเร็จ) ?
วัตถุประสงค์ในการนำเสนอเรื่อง เพื่อรายงาน บอกเล่า หรือแจ้งให้ทราบ เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ เพื่อพิจารณาตัดสินใจ
ข้อมูลข่าวสารและหลักฐานอ้างอิง ข้อมูลข่าวสารอื่นที่เกี่ยวข้อง สถิติ ผลการวิจัย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา คำถามที่มักจะได้รับในการนำเสนอเรื่อง สาเหตุที่ทำให้สำเร็จ หรือล้มเหลวในการ นำเสนอเรื่องทำนองเดียวกัน
หลักเกณฑ์หรือแนวทางที่ใช้ในการวิเคราะห์ กฎหมาย กฎ ระเบียบ มาตรฐาน เกณฑ์ นโยบาย ทิศทาง แผนงาน แผนกลยุทธ หลักการ หลักวิชา ทฤษฏี สมมุติฐาน ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความเป็นธรรม ผลลัพธ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลกระทบที่ตามมา
การสร้างโครงเรื่องในการนำเสนอ รวบรวมข้อมูลข่าวสารและรายละเอียดทั้งหมด กำหนดประเด็นและเนื้อหา เฉพาะที่จะนำเสนอ จัดลำดับประเด็น เนื้อหา และวิธีการนำเสนอ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน เหมาะสม
หลักการเรียนรู้สำหรับ “ ผู้ใหญ่” เรียนเมื่อมีความต้องการ รู้สึกหรือเห็นว่าจำเป็น สนใจเรียนรู้สิ่งที่เป็นจริง เรียนรู้ได้ดีโดยการปฏิบัติ พอใจบรรยากาศความเป็นกันเอง และได้มีส่วนร่วม เรียนรู้ได้ดีเมื่อมีการเชื่อมโยงให้เนื้อหาสัมพันธ์กัน ชอบการเรียนรู้ที่มีหลาย ๆ วิธีตามความเหมาะสม
การกล่าวนำเข้าสู่เรื่อง การนำเสนอเนื้อหาของเรื่อง การสรุปการบรรยาย ขั้นตอนในการบรรยาย การกล่าวนำเข้าสู่เรื่อง การนำเสนอเนื้อหาของเรื่อง การสรุปการบรรยาย
การกล่าวนำและการนำเข้าสู่เรื่อง กล่าวทักทาย และสร้างความสัมพันธ์กับผู้ฟัง เชื่อมโยงกับเรื่องก่อน และแนะนำหัวข้อวิชา ระบุหัวข้อหลักหรือประเด็นสำคัญของหัวข้อวิชา ระบุวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา และประโยชน์ ใช้วิธีการกระตุ้นความสนใจของผู้ฟัง
การนำเสนอเนื้อหาของเรื่อง นำเสนอตามลำดับเรื่องที่ได้เตรียมการไว้ อธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ ย้ำประเด็นสำคัญ สังเกตปฏิกิริยาผู้ฟัง และตรวจสอบความเข้าใจ เชื่อมโยงระหว่างหัวข้อให้สัมพันธ์สอดคล้องกัน
ตรวจสอบความเข้าใจของผู้ฟังอีกครั้ง การสรุปการบรรยาย ตรวจสอบความเข้าใจของผู้ฟังอีกครั้ง สรุปเค้าโครงหรือภาพรวมของเรื่องที่บรรยาย เน้น ย้ำประเด็นหรือสาระสำคัญของเรื่อง ฝากข้อคิด หลักการ หรือเชิญชวน โน้มน้าวใจ เชื่อมโยงไปสู่หัวข้อวิชาหรือเรื่องในลำดับต่อไป
การวางแผนและเตรียมตัวในการบรรยาย ก่อนการบรรยาย ในการบรรยาย จบการบรรยาย
ก่อนการบรรยาย การวิเคราะห์สถานการณ์ การศึกษารายละเอียดของเรื่อง การเตรียมแผนการสอน การเตรียมโสตทัศนูปกรณ์ การทดลองและซักซ้อม
การบรรยาย ไปถึงก่อนเวลา และเริ่มตรงเวลา ไปถึงก่อนเวลา และเริ่มตรงเวลา สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและศรัทธาของผู้ฟัง ประเมินปฏิกิริยา และตรวจสอบความเข้าใจ มีสติ และควบคุมอารมณ์ในระหว่างบรรยาย
ควบคุมเวลา และพยายามจบให้ตรงเวลา สรุปประเด็นและเนื้อหาสำคัญ จบการบรรยาย ควบคุมเวลา และพยายามจบให้ตรงเวลา สรุปประเด็นและเนื้อหาสำคัญ เน้นประโยชน์และการนำไปใช้ เชื่อมโยง ฝากข้อคิด สร้างความสัมพันธ์
การตอบข้อซักถามหรือข้ออภิปราย สังเกตปฏิกิริยาของผู้ฟัง และพร้อมที่จะเปิดโอกาส ให้ซักถาม หรือมีส่วนร่วมอภิปรายแสดงความเห็น ตั้งใจรับฟังจนจบความ ไม่รีบพูดสวนหรือแทรก ตอบให้ตรง สั้น กระชับ ชัดเจน มั่นใจ น่าเชื่อถือ ตรวจสอบความเข้าใจหรือความพึงพอใจของผู้ฟัง ในกรณีที่ตอบคำถามยาว หรืออภิปรายอย่างกว้างขวาง
ความสามารถในการรับรู้ของมนุษย์ ทางหู 13 % ทางตา 75 % สัมผัส 6 % ดมกลิ่น 3 % ชิมรส 3 %
โสตทัศนูปกรณ์ คือ สื่อหรืออุปกรณ์ ที่ช่วยในการสื่อสาร เพื่อช่วยให้ผู้รับได้ รับรู้ทั้งทางหู และ ทางตา
ประโยชน์ของโสตทัศนูปกรณ์ เพิ่มความน่าสนใจในการนำเสนอ ช่วยให้นำเสนอเนื้อหาตามลำดับที่เตรียมไว้ ช่วยให้มองเห็นภาพและทำความเข้าใจได้ง่าย ช่วยกำหนดและเน้นให้สนใจอยู่กับจุดที่เสนอ ช่วยให้จำได้ง่าย และจดจำได้ดี
โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ประกอบการนำเสนอเรื่อง กระดานแบบต่าง ๆ แผ่นใสและเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ โปสเตอร์ ภาพถ่าย ภาพพลิก แผนที่ แผนผัง สไลด์ ภาพยนต์ วิดีโอ แบบจำลอง ตัวอย่างของจริง คอมพิวเตอร์
คุณลักษณะของโสตทัศนูปกรณ์ที่ดี สามารถช่วยในการรับรู้ได้ดีและง่ายยิ่งขึ้น เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ถูกต้อง เรียบร้อย น่าสนใจ สวยงาม ผลิตได้ง่าย และนำไปใช้ได้สะดวก ประหยัด ทนทาน หรือใช้ได้อย่างคุ้มค่า
การพัฒนาการนำเสนอให้น่าสนใจ บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ การนั่งหรือยืน การเคลื่อนไหวร่างกาย มือ และการใช้มือในการนำเสนอ การใช้ภาษา ศัพท์ ถ้อยคำ สำนวน น้ำเสียง จังหวะ ลีลาการพูด
การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ฟัง การสังเกตปฏิกิริยา และการใช้สื่อสายตา การปรับเนื้อหาสาระของเรื่องที่นำเสนอ การพัฒนาโสตทัศนูปกรณ์ การปรับให้เข้ากับสถานการณ์
การพัฒนาประสิทธิภาพในการนำเสนอ ความรักและความศรัทธา การเตรียมความพร้อม ความมั่นใจและความมั่นคง ศิลปะการพูด และการโน้มน้าวใจ การใช้เทคนิคและโสตทัศนูปกรณ์
หลักการออกแบบ องค์ประกอบ ความสมดุลย์ เน้นจุดสนใจ หลักการออกแบบ
องค์ประกอบ 1. ตัวอักษรเท่าที่จำเป็น 2. ใช้รูปภาพ 3. ใช้แผนภาพ 4. ใช้กราฟ
ความสมดุลย์ Symmetry Asymmetry
เน้นจุดสนใจ แบบตัวอักษร รูปทรง รูปภาพ สี
ส่วนประกอบในสไลด์ แผ่นสไลด์ ตัวอักษร ภาพประกอบ กราฟ Flow Chart ตาราง ภาพเคลื่อนไหว เสียง
การวางรูปแบบของสไลด์ ใช้รูปแบบ Slide 35 mm วางแนวนอน ใช้ Templates ที่มีในโปรแกรม เว้นขอบทั้ง 4 ด้านให้ว่าง ~ 0.5 นิ้ว เนื้อหาจัดให้อยู่กลางสไลด์
การใช้ตัวอักษรประกอบ ใช้ข้อความแทนประโยค มีข้อมูลมาก ควรจัดให้เป็นหัวข้อ ใช้ Key word เพื่อเพิ่มจุดสนใจ
วัตถุประสงค์ (ไม่เหมาะสม) ศึกษาการประเมินการพังทลายดินเชิงพื้นที่ตามสภาพภูมิประเทศ ดิน ฝน และการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยเน้นปัจจัยทางด้านสภาพภูมิประเทศและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ พร้อมทั้งเปรียบเทียบสถานการณ์การพังทลายดินที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินระหว่างปี พ.ศ. 2526 และ 2543
วัตถุประสงค์ (เหมาะสม) ศึกษาการพังทลายดินเชิงพื้นที่ตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน เปรียบเทียบสถานการณ์การพังทลายดินจากอดีตถึงปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2526 - 2543)
การใช้ภาพประกอบ ภาพที่ใช้ต้องช่วยเสริมข้อความที่เสนอ ไม่ควรมีอักษรในภาพถ้าไม่จำเป็น ตัวอักษรที่ใช้ควรให้เงาเพื่อเพิ่มความชัด ลดสิ่งที่ทำให้เกิดความยุ่งเหยิง ภาพที่ใช้อาจทำให้ขนาดของแฟ้มข้อมูลใหญ่เกินไป
ตัวอย่างการใช้ Flow Chart ตัวการที่ทำให้อนุภาคดินแตกกระจาย (Detaching Agents) ขบวนการผุกร่อนของดิน (Weathering) การกัดเซาะ (Detachment) ตัวการการพัดพา (Transporting Agents) การพัดพา (Transportation) การทับถม (Deposition)
ตัวอย่างการใช้ตาราง การใช้ประโยชน์ ที่ดิน ปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2526 พื้นที่ (ไร่) การสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี) * ป่า 10694 0.0 13651 1.1 ข้าวนาดำ 148 8.3 196 0.02 ไม้ผล 502 9.9 ผัก / พืชไร่ 3668 -27.6 1520 -45.7 พื้นที่เปิด 12 -79.9 13 -103.7 ถนน 141 -108.6
แนวทางการออกแบบสไลด์ สื่อถึงเนื้อหาที่นำเสนอ หนึ่งสไลด์ต่อหนึ่งความคิด ชัดเจนและสะดวกต่อการอ่าน ความสมดุลและคงเส้นคงวา ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น
สีและตัวอักษร พื้นมืดตัวอักษรสว่าง เงาของตัวอักษรต้องมืดกว่าสีพื้น ตัวอักษรต้องอ่านง่าย ชนิดตัวอักษร True Type Font ใช้ 1 หรือ 2 ชนิดของตัวอักษร ขนาด 36 – 60 point + ตัวหนา
ตัวอย่างสีพื้น http://thainewmedia.blogspot.com http://gotoknow.org/blog/thainewmedia
อาจมีผลกระทบต่อสายตาผู้ฟัง ความคมชัดสำคัญ แต่ชัดมากไป อาจมีผลกระทบต่อสายตาผู้ฟัง http://thainewmedia.blogspot.com http://gotoknow.org/blog/thainewmedia
พยายามหลีกเลี่ยงพื้นสีขาว ความคมชัดสำคัญ แต่ พยายามหลีกเลี่ยงพื้นสีขาว http://thainewmedia.blogspot.com http://gotoknow.org/blog/thainewmedia
บางคนนิยมโทนสีสว่าง แต่อ่านค่อนข้างยาก อาจทำให้ดูแล้วตาลาย แม้กระทั่งตัวอักษรที่มีเงา
ตัวอย่างอักษรเงา None - Shadowed Text Shadowed Text
ชนิดตัวอักษร Time New Roman Arial Cordia New FreesiaUPC AngsanaUPC
ขนาดตัวอักษร Cordia New 60 point Cordia New 54 point
หัวเรื่อง 60 point เนื้อหาควรมีขนาดตั้งแต่ 36 points ถึงขนาด 50 point และควรเป็นตัวหนา
การให้สีตัวเลขในตาราง การใช้ประโยชน์ ที่ดิน ปี พ.ศ. 2543 ปี พ.ศ. 2526 พื้นที่ (ไร่) การสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ปี) * ป่า 10694 0.0 13651 1.1 ข้าวนาดำ 148 8.3 196 0.02 ไม้ผล 502 9.9 ผัก / พืชไร่ 3668 -27.6 1520 -45.7 พื้นที่เปิด 12 -79.9 13 -103.7 ถนน 141 -108.6
สีและตัวอักษร (ต่อ) ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ เนื้อหาต้องไม่แน่นจนเกินไป สูงสุด 8 บรรทัดต่อ 1 สไลด์ หลีกเลี่ยงการใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด (อังกฤษ)
ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ ตัวอย่างตัวอักษรตัดขอบ ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้ ตัวอักษรตัดขอบไม่ควรใช้
ตัวอย่างการใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ Spatially-explicit Soil Erosion SPATIALLY-EXPLICIT SOIL EROSION
การเตรียมตัวนำเสนอ ศึกษาข้อมูลทั่วไปสำหรับการนำเสนอ ศึกษาวิธีการควบคุม Slide Show นำเสนอผลงาน
ศึกษาสภาพแวดล้อมทั่วไป ผู้เข้าฟังการบรรยาย... ใคร... จำนวน ความสว่างของห้องบรรยาย เครื่องเสียง เช่น ไมโครโฟน ตำแหน่งของ LCD ที่ใช้นำเสนอ ตำแหน่งที่จะยืนสำหรับการนำเสนอ
การควบคุม Slide show เก็บ File นามสกุล .pps ซ่อนจอโดยใช้ ‘B’ หรือ ‘W’ ข้ามไปยังสไลด์ที่ต้องการ “ตัวเลข ตามด้วย ENTER” ใช้ ‘Page Up’ หรือ ‘Page Down’ ในการเลื่อนสไลด์ ความเชื่อมต่อระหว่างสไลด์
การควบคุม Slide show (ต่อ) ปิดการทำงานของ Screen Saver ปิดการทำงานของการประหยัดพลังงาน (Notebook Computer) ปรับความคมชัดของจอให้เหมาะสม ปรับคุณภาพของตัวหนังสือ เก็บ File ที่จะนำเสนอใน Hard Disk
ข้อพึงระวัง... มีหัวเรื่องทุกสไลด์ ใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ และหลายรูปแบบ สีและรูปแบบตัวอักษรไม่ควรมากเกินไป พื้นสไลด์ไม่ควรยุ่งเหยิง หัวข้อย่อยไม่ควรมากกว่า 6 หัวข้อต่อสไลด์ ลำดับความสำคัญของหัวข้อย่อย
ข้อพึงระวัง... ใช้กราฟเมื่อต้องการเปรียบเทียบ ดูแนวโน้ม และแสดงความสัมพันธ์ ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น ควรเว้นช่องไฟให้เหมาะสม เพิ่มข้อมูลที่ขาดหายไปเมื่อจำเป็น
อ้างอิง โดย ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด Thank You ! อ้างอิง โดย ผศ.ดร.เสกสรร สายสีสด http://gotoknow.org/blog/thainewmedia http://thainewmedia.blogspot.com