การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน โดย ดร.ศิริลักษณ์ โกวิทยานนท์ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก e-mail drsirilak@gmail.com โทร. 084-3796547
หัวข้อการนำเสนอ Overview PMQA ตัวชี้วัดที่ 63 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แนวทางการใช้ PMQAเพื่อเป็นองค์กรสมรรถนะสูง ทบทวน 7 หมวด PMQA 2 วงจรการประเมินองค์กรหลัก การตรวจสุขภาพองค์กร(การประเมินองค์กร)และการวิเคราะห์ OFI การจัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง แผนการปรับปรุงองค์กร
8. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) คือ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ โดยมองภาพองค์รวมทั้ง 7 หมวด เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล ซึ่ง PMQA ถือเป็น “เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุงองค์การ”
รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Japan Canada USA Australia EU Singapore Thailand แนวคิดหลักเป็นแนวคิดเรื่อง TQM ซึ่ง TQM เป็นลักษณะ Model ที่บอกว่า สรรพสิ่งย่อมเกิดจากเหตุ ผลลัพธ์จะไม่ดีเลย ถ้า Leadership หรือการนำองค์กรไม่ดี การ Deployment หมายถึงการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติก็ต้องดีด้วย ระบบบุคคลก็ต้องดี ระบบข้อมูลก็ต้องดี ระบบกระบวนการก็ต้องดี การดูแลลูกค้าก็ต้องดี ผลลัพธ์จึงจะออกมาดี แนวคิดนี้จึงถูกนำมาใช้เนื่องจากในสมัยก่อนสักปี 1980 สหรัฐอเมริกาตั้งคำถามว่าทำไมเราสู้ญี่ปุ่นไม่ได้ หรือเพราะว่าญี่ปุ่นดั๊มพ์ราคาลงหรือ ทำไมญี่ปุ่นถึงตีตลาดอเมริกาเยอะมากเขาเลยส่งไปที่ญี่ปุ่น แล้วก็ค้นพบความจริงว่าสิ่งที่ญี่ปุ่นไม่เหมือนอเมริกามีอยู่ สองสามเรื่องด้วยกัน คือ 1. ผู้นำของญี่ปุ่นจะ low profile no name แต่มือเปื้อนฝุ่น จะลงไปคลุกคลีกับผู้ปฏิบัติงาน แต่ในขณะที่ผู้บริหารอเมริกาจะโดดเด่น ในขณะที่ไม่มีใครรู้จักว่าใครคือ CEO ของโตโยต้า แต่ในขณะที่อเมริกาเราจะรู้เลยว่าเป็นใครนี่คืออันแรกที่ญี่ปุ่นกินขาดอเมริกา อันที่สอง 2. ระบบการจ้างงานของญี่ปุ่นเป็นแบบ Long Life Employee ซึ่งหมายความว่าเขาจะมีการจ้างงานแบบตลอดชีวิต ทำให้คนรักและผูกพันกับองค์กรมากในขณะที่อเมริกาเป็นแบบ Job Hob ก็คือว่าจะจั๊มไปสู่งานใหม่ๆ เพื่อแสวงหาเงินเดือนที่สูงขึ้นความผูกพันกับองค์กรก็ไม่มี 3. เรื่องหนึ่งที่ญี่ปุ่นเด่นมากก็คือระบบ QC ซึ่ง QC หมายถึงว่าญี่ปุ่นเขาจะให้ความสำคัญกับระบบกระบวนการคุณภาพทุกขั้นตอนถ้าไม่ผ่านจุดนี้จะไปกดปุ่มนี้ก็จะกดไม่ได้นี่คือความสำคัญหรือจุดเด่น Quality Performance / Organizational Excellence
1. วัตถุประสงค์ของรางวัลฯ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาองค์การให้มีมาตรฐาน 2 เพื่อแสวงหาหน่วยงานต้นแบบในแต่ละหมวด 3 เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของภาคราชการไทยโดยรวม รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เป็นรางวัล สูงสุดที่มอบให้กับหน่วยงานภาครัฐที่มี การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการได้ทัดเทียมมาตรฐานสากล ซึ่งได้มาด้วย ความเพียรพยายาม ความอดทน หลอมรวมกับความตั้งใจ จริงของทุกคนในองค์การ เพื่อนำพาองค์การให้ก้าวสู่ความ เป็นเลิศ
การปรับปรุงเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์การ: สภาพแวดล้อม, ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การนำองค์การ 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ 6. การมุ่งเน้นระบบ การปฏิบัติการ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 7.ผลลัพธ์ การดำเนินการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ โครงสร้างของเกณฑ์ PMQA ปี 2558 โครงสร้างของเกณฑ์ PMQA ปี 2550
วัตถุประสงค์และสาระสำคัญของเกณฑ์ PMQA 2558 1) วัตถุประสงค์การปรับเปลี่ยน เพื่อให้เกณฑ์รางวัลคุณภาพการการบริหารจัดการภาครัฐ มีความทันสมัย ตามบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล (เกณฑ์ MBAQA) และแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2555 – 2561) 2) สาระสำคัญของเกณฑ์ฯ มีจุดเน้นที่วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างนวัตกรรมและการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อความยั่งยืนของส่วนราชการและของประเทศ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ จะเป็นแก่นที่ผู้บริหารของทุกส่วนราชการใช้ประกอบการตัดสินใจเพื่อกำหนดเส้นทาง เชิงยุทธศาสตร์ และบรรลุประสิทธิผลขององค์การ
ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 7 5 2 1 3 6 4 ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ 7 5 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล 1 การนำ องค์กร คุณภาพ 3 6 การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา
ความเชื่อมโยงของระบบจัดการ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำรับรองการปฏิบัติราชการ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หลัก 4 ป. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) พัฒนาองค์กร Capacity Building คุณภาพ Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี (Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management e-government MIS
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ได้รับรายงานป้อนกลับ No การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 4 3 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)
โครงสร้างของเกณฑ์ PMQA ปี 2558 1. OP 13 คำถาม 2. เกณฑ์ PMQA 7 หมวด 89 คำถาม ลักษณะสำคัญขององค์การ สภาพแวดล้อม, ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การนำองค์การ 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ 6. การมุ่งเน้นระบบ การปฏิบัติการ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 7.ผลลัพธ์ การดำเนินการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ความสามารถ ในการปรับตัว 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม หลักคิด : 11 Core Values 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ ความสามารถ ในการปรับตัว 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้น ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชน 2 6 การมุ่งเน้นอนาคต การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 10 การเรียนรู้ระดับ องค์การ และระดับบุคลากร 7 การจัดการเพื่อ นวัตกรรม 11 3 มุมมองในเชิงระบบ 4 การให้ความสำคัญ กับบุคลากรและเครือข่าย 8 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง
Governance Excellence (ยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้านธรรมาภิบาล) แผนที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ โครงการองค์กรคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ 63 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดย...กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประเทศไทย 4.0 – ระบบราชการ 4.0 สถานการณ์ ประเทศไทย 4.0 – ระบบราชการ 4.0 เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์Thailand 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก (Better Governance, Happier Citizens) ในการนี้หมายความว่า ระบบราชการไทยจะต้องปฎิรูปขนานใหญ่ เพื่อให้สามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง
เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์Thailand 4 เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์Thailand 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก (Better Governance, Happier Citizens) ในการนี้หมายความว่า ระบบราชการไทยจะต้องปฎิรูปขนานใหญ่ เพื่อให้สามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ประเทศไทย 4.0 – ระบบราชการ 4.0 เพื่อรองรับต่อยุทธศาสตร์Thailand 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทำงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก (Better Governance, Happier Citizens) ในการนี้หมายความว่า ระบบราชการไทยจะต้องปฎิรูปขนานใหญ่ เพื่อให้สามารถเป็นที่ไว้วางใจและเป็นพึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ส่วนราชการในสังกัด สป.สธ. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ คำนิยาม ส่วนราชการในสังกัด สป.สธ. ประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.สำนัก/กอง ส่วนกลาง จำนวน 13 สำนัก/กอง 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร 13 คำถาม 2.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 แห่ง 2.ดำเนินการภาคบังคับ ปีละ 2 หมวด 3.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 878 แห่ง 3.ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบกับเกณฑ์ 4.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรและตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ พ.ศ. ภาคบังคับ 2561 หมวด 1 ,หมวด 5 2562 หมวด 2 ,หมวด 4 2563 หมวด 3 ,หมวด 6 2564 หมวด 1- 6 2565 5. ติดตามประเมินผล โดยทีม Internal Audit
เกณฑ์เป้าหมาย 1. สำนัก/กองในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ส่วนกลาง ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ระดับ 5 (ร้อยละ 60) (ร้อยละ 70) (ร้อยละ 80) (ร้อยละ 90) (ร้อยละ 100) 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ระดับ 5 (ร้อยละ 60) (ร้อยละ 70) (ร้อยละ 80) (ร้อยละ 90) (ร้อยละ 100) 3. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ปีงบประมาณ 65 ระดับ 5 (ร้อยละ 20) (ร้อยละ 40) (ร้อยละ 60) (ร้อยละ 80) (ร้อยละ 100)
Small success รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน 1.ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์กรในหมวดที่ดำเนินการ 1.ผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดในหมวดที่ดำเนินการ 1.ร้อยละของสำนัก/กองในสังกัด สป.สธ. ส่วนกลางที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2.ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2558 ภาคบังคับ 2 หมวด 2.ร้อยละของสำนักสาธารณสุขจังหวัดที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด 3.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรของหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (หมวดละ 1 แผน) 3.ร้อยละของสำนักสาธารณสุขอำเภอที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด 4.จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 1 การนำองค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานสาธารณสขอำเภอ หน่วยงานส่วนกลาง 1. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) 1.ระดับความสำเร็จในการด้าเนินการเป็นหน่วยงานคุณธรรม 2. ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของผู้บริหาร 2 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของผู้บริหาร 3. จำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล 3 จำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล 3. ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของโครงการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (OG) หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 1. ดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happinometer) 2. อัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate) 3. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร
ตัวชี้วัดหมวด 1 การนำองค์การ ลำดับ ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน คำอธิบาย วิธีการวัด/เงื่อนไขการประเมิน 1 2 3 4 5 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA) 70 75 80 85 90 ผลคะแนนตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1- EB 11) วัดจากผลคะแนนตามแบบหลักฐานเชิงประจักษ์ทุกข้อ (EB 1- EB 11) ไตรมาสที่ 4 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) ของผู้บริหาร 60 65 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.22561 วัดร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ(PA) ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด/สาธารณสุขอำเภอ/ผู้อำนวยการกอง จำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล (สสจ.) ผลงาน หมายถึง ผลดำเนินงานที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) บริการ กระบวนการ นวัตกรรม ฯลฯ รางวัล หมายถึง รางวัลที่มอบให้จากหน่วยงานภายนอก หมายเหตุ: นับจำนวนผลงานจากหน่วยงานทั้งจังหวัด วัดจำนวนผลงานที่ส่งสมัครรับรางวัล ในปี พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ ต้องแสดงชื่อผลงาน วัน เดือนปีที่ส่งสมัคร และ ชือหน่วยงานที่มอบรางวัล (สสอ.) - หมายเหตุ : นับจำนวนผลงานภายใน คปสอ. ตัวชี้วัดหมวด 1 การนำองค์การ
ตัวชี้วัดหมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร ลำดับ ชื่อตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน คำอธิบาย วิธีการวัด/เงื่อนไขการประเมิน 1 2 3 4 5 ดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happinometer) ≥ 50 ≥ 55 ≥ 60 ≥ 65 ≥70 หมายถึง การประเมินดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happinometer) รายบุคคลโดยผ่านระบบ Online-based หรือ Mobile App-based หน่วยงานนั้นมีการวิเคราะห์ผลการประเมิน (คู่มือรายละเอียดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดที่ 56) วัดจากผลการสำรวจดัชนีความสุขของคนทํางาน(ยุทธศาสตร์ที่ 3 People Excellence (ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ) แผนที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ โครงการที่ 2 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ตัวชี้วัดที่ 56) อัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (Retention Rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ65 ไม่น้อยกว่าร้อยละ70 ไม่น้อยกว่าร้อยละ75 ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 ไม่น้อยกว่าร้อยละ85 อัตราการคงอยู่ (Retention Rate) หมายถึง จํานวนบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นระยะเวลา 1 ปีขึ้นไป (นับตามปีงบประมาณ) (คู่มือรายละเอียดกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดที่ 57) วัดจากอัตราการคงอยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ที่ 3 People Excellence (ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ) แผนที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ โครงการที่ 2 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ตัวชี้วัดที่ 57) ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร 60 65 70 75 80 บุคลากร หมายถึง ข้าราชการ พนักงานกระทรวงสาธาณสุข พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราวหรือบุคลากรตามที่ระบุไว้ในหมวดลักษณะสำคัญขององค์กร ข้อ 3 แผนพัฒนาบุคลากร หมายถึง แนวทาง กลยุทธ์ หรือวิธีการที่หน่วยงานกำหนดไว้ เพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลการของหน่วยงานทุกระดับทุกประเภท ตามลักษณะงานและสาขาวิชาชีพ ให้เป็นไปตามคุณลักษณะบุคลากรที่ต้องการ วัดร้อยละของบุคลากร ต้องครอบคลุมทุกกลุ่มบุคลากรตามที่หน่วยงานระบุไว้ในหมวดลักษณะสำคัญขององค์กร ข้อ 3ที่ได้รับการพัฒนา สูตรคำนวณ : จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร*100/จำนวนบุคลากรที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาบุคลากร
ปฏิทินการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2561 ปฏิทินการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปี พ.ศ.2561 ประชุม เชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 (ภาคเหนือ) ประชุม เชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 4 (ภาคอิสาน) มอบนโยบายฯ ชี้แจง KPI Template และเกณฑ์รางวัลฯ รายงาน small Success ไตรมาส 1 อบรมทีม Facilitator & Auditor อบรมสัมมนา วิชาการ (3 วัน) สรุปผล การประเมิน 13-15 พ.ย.60 6-8 ธ.ค.60 31 ธ.ค. 60 มี.ค.61 มิ.ย. 61 ก.ย. 61 6-7 พ.ย.60 22-24 พ.ย.60 12-14 ธ.ค. 60 ธ.ค. 60 พ.ค. 61 ส.ค. 61 ต.ค. 61 ประชุม เชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 3 (ภาคกลาง) ประชุม เชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 (ภาคใต้) ส่วนราชการ ส่งข้อมูล เข้าระบบ online รายงาน small Success ไตรมาส 2 รายงาน small Success ไตรมาส 3 รายงาน small Success ไตรมาส 4 Workshop : หมวด OP Self Assessment หมวด 1 ,หมวด 5 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ หมวด 1 ,หมวด 5 จัดทำตัวชี้วัดผลลัพธ์ หมวด 1 ,หมวด 5
ภารกิจของสสจ.ลำพูนในครั้งนี้ F1. สรุปรายการงาน F2ก. OP_1 page F2ข. OP_10 page F3. Self Score F4. Cat7-KPIs F5ก. Self SW F5ข. SW_Score F6. Ranking OFI F7. แผนพัฒนาองค์กร Folderการบ้านต้องส่ง กพร. สป. FOLDER 2