กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร วาระการประชุม กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร 29 มกราคม 2561
ตัวชี้วัดการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 1 โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ ตัวชี้วัดที่ 54 : ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย..\..\วาระการประชุม\ปี 61\ตัวชี้วัดปี2561_150917.pdf เป้าหมาย ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพในการดำเนินงาน ในแต่ละองค์ประกอบที่ผ่านเกณฑ์ ระดับ 4 ทั้ง 5 องค์ประกอบ ตัวชี้วัดที่ 55 : ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด เป้าหมาย รอบที่ 1 บุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ร้อยละ 60 รอบที่ 2 บุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ร้อยละ 85
ตัวชี้วัดการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 2 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ตัวชี้วัดที่ 56 :ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ ( PA ) เป้าหมาย ร้อยละ 60 ตัวชี้วัดที่ 57 : อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข ( PA ) เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ตัวชี้วัดที่ 58 : ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
การดำเนินงานพัฒนาบุคลากร ปี 2561 ตัวชี้วัดที่ 54 ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย เป้าหมาย ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพในการดำเนินงาน ในแต่ละองค์ประกอบที่ผ่านเกณฑ์ ระดับ 4 ทั้ง 5 องค์ประกอบ 1. จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ๔ Excellence 2. จัดหาและประสานสถาบันฝึกอบรม 3. บริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา 4. จัดสรร/กระจาย/บุคลากรให้มีความสอดคล้องกับความต้องการ ของหน่วยงาน 5. ปรับปรุง/พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการด้านการพัฒนาบุคลากร
การดำเนินงานพัฒนาบุคลากร ปี 2561 ตัวชี้วัดที่ 55 : ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด วัตถุประสงค์ ให้บุคลากรในระบบสุขภาพได้รับการพัฒนาให้มีขีดสมรรถนะสูงอย่างมืออาชีพ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ของประเทศ เป้าหมาย บุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ร้อยละ 85 การพัฒนาบุคลากร - มี 2 รูปแบบ : เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ - บุคลากรเป้าหมาย 5 กลุ่ม 1. บุคลากรวิชาชีพ 2. บุคลากรสหวิชาชีพ 3. บุคลากรสนับสนุนวิชาชีพ 4. บุคลากรสายสนับสนุน 5. บุคลากรผู้ทำหน้าที่บริหารงาน
ตัวชี้วัดการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 2 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข ตัวชี้วัดที่ 56 :ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ ( PA ) เป้าหมาย ร้อยละ 60 วัตถุประสงค์ นำผลการประเมินดัชนีความสุขคนทำงาน มาใช้ในการพัฒนาองค์กร การบริหารงาน การดำเนินงานต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความสุขในการทำงานอย่างตรงประเด็น ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
การดำเนินงานพัฒนาบุคลากร ปี 2561 ตัวชี้วัดที่ 56 :ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ ( PA ) การดำเนินงาน มี 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 แจ้งแนวทางการวัดและการนำดัชนีความสุขคนทำงานไปใช้ ระดับที่ 2 มีการสำรวจข้อมูล ระดับที่ 3 มีการวิเคราะห์/สังเคราะห์ และนำเสนอผลต่อผู้บริหาร ระดับที่ 4 มีการทำแผนพัฒนาความสุขคนทำงาน ระดับที่ 5 มีการใช้แผนพัฒนาความสุขคนทำงาน
การดำเนินงานเดือนกุมภาพันธ์ 2561 1.ให้โรงพยาบาลและสาธารณสุขอำเภอ ทุกแห่งรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาบุคลากรระหว่าง 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2560 ลงในแบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุขที่ 54 และ 55แบบฟอร์มติดตามตัวชี้วัดฯ 54-55 งานพัฒนาบุคลากรอำเภอ.xlsx 2.download แบบฟอร์มดังกล่าวได้ที่ www.ssko.moph.go.th กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล 3.ส่งรายงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ที่อีเมล์แอดเดรส ARUNYA 2505@hotmail.com ภายในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561
การพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) ปี 2561 จังหวัดศรีสะเกษ ได้รับเงินอุดหนุนพัฒนาศักยภาพบุคลากรรองรับ Service Plan จำนวน 17 ทุน เป็นเงิน 665,000 บาทส่งรายงาน SP ๒๕ มกราคม ๖๑.xlsx 1.ภายในเดือนเมษายน 2561 หากไม่สามารถหาที่อบรมได้ ให้แจ้งเปลี่ยนหลักสูตรหรือไม่ขอใช้งบให้ สสจ.ศรีสะเกษ ทราบ 2.ทุกหลักสูตรที่ได้รับทุนสนับสนุน ก่อนไปอบรมให้ทำเรื่องยืมเงินจาก สสจ.ศรีสะเกษ ทุกครั้ง 3.กลับจากอบรมให้ดำเนินการทำเรื่องส่งใช้เงินยืม สสจ. ศรีสะเกษโดยเร็ว
การพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาระบบปฐมภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2561ข้อมูลพยาบาลปฐมภูมิ จ.ศรีสะเกษ ๒๕ มค.๖๑.xlsx ในปีงบประมาณ 2561 ได้ดำเนินการสำรวจพยาบาล ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ใน 22 อำเภอ จำนวน 396 หน่วยบริการ พบว่ามีพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน 396 คน ผ่านการอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติทั่วไป จำนวน 348 คน คิดเป็นร้อยละ 87.88 และผ่านการอบรมพยาบาลเฉพาะทางสาขาเวชปฏิบัติครอบครัว จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.01 สรุปรายงานพัฒนาบุคลากรไตรมาศ 1 ปี 61.docx
โครงการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะทางการบริหารปีงบประมาณ 2561 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ได้มีนโยบายพัฒนาผู้บริหารในสังกัดให้มีความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ เป็นผู้บริหารที่ดี เก่งและมีคุณธรรม รวมทั้งเป็นการเพิ่มเติมความรู้ใหม่ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบัน 1.หลักสูตร นบส. 2.หลักสูตร ผบก. / ผบต. 3.หลักสูตรพัฒนาสาธารณสุขอำเภอ 4.หลักสูตรพัฒนาผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ
ติดตามงบประมาณ โรงพยาบาลขุนหาญ เร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณโครงการพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ปี 2560 จำนวน 33,760 บาท ตามหนังสือที่ ศก.0032.009/ว 7411 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2559
ด้วยความขอบคุณ