แนวทางการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
SERVICE PLAN 59.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
Performance Agreement
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด นายแพทย์ธีระพงษ์ แก้วภมร นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรป้องกัน)

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 1.เด็กไทยมีสติปัญญาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100 (ปี 2564 ประเมินทุก 5 ปี) ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 100 2. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติ (สำรวจทุก 5 ปี) 3.ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 36 4.ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ (ปี 2564)ร้อยละ 84 5.ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้พิการและด้อยโอกาส ได้รับการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care)ร้อยละ 80

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 6.ผู้พิการได้รับการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์/กายอุปกรณ์ / อุปกรณ์เครื่องช่วยตามเกณฑ์ ร้อยละ 70 7. ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์/ กายอุปกรณ์ /อุปกรณ์เครื่องช่วย ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 8.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการ ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ≥ 90% 9.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 5.0% 10.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18/แสนประชากร

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 11.อัตราการเพิ่มผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวานร้อยละ 0.25 12.อัตราการเพิ่มผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 0.25 13.ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไปร้อยละ 19 14.ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป (ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี) 6.81ลิตร 15.ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 16.อัตราคงอยู่ (Retention Rate) วัด ๒ ระยะ 16.1 ร้อยละ 70 อยู่ในบวนการการบำบัดรักษา 16.2 ร้อยละ 60 อยู่ในกระบวนการติดตาม 17.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้>ร้อยละ 40 18.ร้อยละของผู้ป่วยโรคโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้>ร้อยละ 50 19.อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง น้อยกว่าร้อยละ 7 20.อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไม่เกิน130ครั้ง/แสนประชากร

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 21.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิตร้อยละ 50 22. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤ 6.3/แสนประชากร 23.ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F 2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย Stemi ได้ ร้อยละ 65 24.อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ27.4/แสนประชากร 25.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 26.ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด/ รังสีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 27. อัตราตายโรคมะเร็งตับ23.5/แสนประชากร 28.อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร 29.ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลง ของeGFR< 4 ml/min/1.73m2/yr ≥ ร้อยละ 65 30.จำนวนปลูกถ่ายไตสำเร็จ 650 ราย ทั้งประเทศ

ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies กลุ่มงาน NCD KPI ปี 2560 ตัวชี้วัดตาม 4 Excellence Strategies 31.ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบESC คุณภาพ (Emergency Care System)ร้อยละ 70 32.ร้อยละ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ร้อยละ 70 33.ร้อยละ EMS คุณภาพในโรงพยาบาลทุกระดับร้อยละ 70 34.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma)< ร้อยละ 1 35.ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2560 จำนวน 15,000 ครั้ง

PA ปี 2560 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร Performance Agreement : PA กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 12 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1.ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้พิการและด้อยโอกาส ได้รับการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ร้อยละ 80 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร ลดลงร้อยละ 0.25 3. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ 4. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 น้อยกว่า ร้อยละ 7 5. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 6. อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 27.4/แสนประชากร

Performance Agreement : PA กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 12 ตัวชี้วัด เป้าหมาย 7. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีบำบัด ของมะเร็ง 5 อันดับแรก ร้อยละ 80 8. อัตราตายด้วยมะเร็งตับ ร้อยละ 23.5 ร้อยละ 23.5 ไม่เกิน 6.3 /แสนระชากร 9. อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ 10. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลง ของeGFR< 4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 65 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 11. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับ การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ≥ 90% 12. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบESC คุณภาพ (Emergency Care System) ร้อยละ 70

ตัวชี้วัดที่ 2 อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมาย : ลดอัตราตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน มาตรการบริหารจัดการ SAT/EOC-RTI คุณภาพ TEA Unit คุณภาพ (รพ. ทุกแห่ง) สสอ./รพช. เป็นเลขา ร่วมใน ศปถ. อำเภอ จังหวัดมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI มาตรการข้อมูล 4I Integration of Data 3ฐาน IS online รพ. A S M1 Investigation Information นำเสนอ ข้อมูลจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ อำเภอ/ไตรมาส (20 จุด/ปี) มาตรการป้องกัน ACDR Ambulance Safety Community Checkpoint(ด่าน) DHS-RTI RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) ในหน่วยงาน มาตรการรักษา พัฒนาคุณภาพ 2 EIR EMS คุณภาพ ER คุณภาพ In-hos คุณภาพ Referral System 1 1 1 2 2 2 3 1 3 3 4 4 2 4 3 4 Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จังหวัด/อำเภอมีแผนงานโครงการและสนับสนุนงบประมาณ RTI ครบทุกอำเภอ มีแผนปฏิบัติการSAT/EOC-RTI ในจังหวัด/อำเภอ ครบทุกอำเภอ 3. สสอ./รพช.เป็นเลขาร่วม ใน ศปถ. อำเภอ โดยนำเสนอ ข้อมูลของพื้นที่ อย่างน้อย50% มีการดำเนินงานของ TEA Unit คุณภาพ ในรพท./รพช. ทุกแห่ง มีการปรับข้อมูลการตายของจังหวัด โดยใช้ข้อมูล 3 ฐาน มีอำเภอดำเนินงาน DHS-RTI ทุกอำเภอ มีระบบรายงานข้อมูล IS Online มีระบบรายงานการสอบสวน Online และการสังเคราะห์ข้อมูล จำนวนผู้บาดเจ็บ(Admit)รวมกับผู้เสียชีวิตในอำเภอDHS-RTI ที่ดำเนินการด่านชุมชน ลดลง 5% ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่และสงกรานต์) มี one stop center นำเสนอข้อมูล RTI ผ่าน web & mobile มีอำเภอเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ DHS-RTI ระดับดี 50% มีการนำเสนอจุดเสี่ยงมากกว่า440 จุด ไม่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาล ผู้บาดเจ็บที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิต ไม่เกิน 1.5% เป้าหมายลดการตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางบก ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน (ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2559 อัตราตาย = 18.9 ต่อประชากรแสนคน มาตรการในการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข แบ่งเป็น 4 มาตรการ ในแต่ละมาตรการมีกิจกรรมสำคัญ 4 กิจกรรม ชื่อเล่น มาตรการ 4X4 มีดังนี้ มาตรการบริหารจัดการ : รับผิดชอบโดย สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรการบริหารจัดการข้อมูล 4I มาตรการป้องกัน รับผิดชอบโดยกรมควบคุมโรค และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มาตรการรักษา รับผิดชอบโดยกรมการแพทย์ และสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

เป้าหมายการดำเนินงานของจังหวัดศรีสะเกษ จุดเน้น ปี 2560 DHS-RTI ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมาย : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5% มาตรการ ขับเคลื่อน DHS-RTI + ศปถ. อำเภอ จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ การสอบสวน Case การมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา + ศปถ.อำเภอ การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.อำเภอ การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน มาตรการองค์กร มีแผนงาน/โครงการ การสื่อสารความเสี่ยง การสรุปผลการดำเนินงาน Ambulance safety เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน เป้าหมายการดำเนินงานของจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 22 อำเภอ ร้อยละ 30 ของอำเภอในจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับเข้มข้น (7 อำเภอ) ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (11 อำเภอ) เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน >1 % ≥2% ≥3% ≥4% ≥5% การประเมินผล : ใช้ฐานข้อมูล e-claim ของบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ความถี่การจัดเก็บข้อมูล: ปีละ 1 ครั้ง เมื่อสิ้นไตรมาสที่ 4 Small Success ตัวชี้วัดนี้เป็น Joint KPI ระดับกระทรวง ในส่วนของกรมควบคุมโรค จะมีการดำเนินการโดย ส่วนกลาง/เขต/ขับเคลื่อน DHS/DC + ศปถ.อำเภอ ดำเนินการมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน RTI Team แก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา ติดตามประเมินผล อำเภอ/จังหวัด - รพ.สธ. ใช้มาตรการ Ambulance safety โดยวัดความสำเร็จคือ 3 เดือน ร้อยละ 20 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐานและนำไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งชี้เป้าจุดเสี่ยง 380 จุด 6 เดือน - จัดทำรายงานเสนอศูนย์อำนวยการเพื่อความปลอดภัยทางถนนเพื่อขอมติให้ข้อมูลตาย 3 ฐานเป็นข้อมูลอ้างอิง - จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ไม่น้อยกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด 9 เดือน - มีระบบรายงานการสอบสวนใน Web Based - อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง 50% 12 เดือน - ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน, จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง 1,520 จุด, DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50%, 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. หน่วยงานระดับจังหวัด/อำเภอ มีแผนงาน DHS-RTI และมีกิจกรรมขับเคลื่อนในพื้นที่ครบ ทุกอำเภอ 100% 1.อำเภอทุกแห่งดำเนินการ DHS-RTI 100% ของอำเภอในจังหวัด 2.จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อนด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ด่าน/อำเภอ ในช่วง เทศกาลปีใหม่ จำนวน 22 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อน ด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำนวน 22 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ 2. จำนวนผู้เสียชีวิตรวมผู้บาดเจ็บทางถนน ในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5%

การป้องกันอุบัติเหตุ พื้นที่ดำเนินการ ปี 2560 การป้องกันอุบัติเหตุ พื้นที่เร่งรัด 1. ไพรบึง 2. อุทุมพรพิสัย 3. บึงบูรพ์ 4. ห้วยทับทัน 5. วังหิน พื้นที่แหล่งเรียนรู้ 1. ขุนหาญ 2. ยางชุมน้อย

อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า15 ปี เสี่ยงมาก (≥7.5) เสี่ยงปานกลาง (5-7.4) เสี่ยงน้อย (≤5) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า15 ปี เป้าหมาย : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 5.0% จังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิต ปี 59 ประชากรอายุ<15ปี อัตรา/แสนประชากร ศรีสะเกษ 17 276,320 6.15 แนวทาง 1.คปสอ. ต้องมีการจัดอบรมครู ข.สอนเด็กว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด ทุกอำเภอ 2.เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี มีทักษะการว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด 3.คปสอ.จัดหาสระว่ายน้ำแบบมาตรฐานหรือสระว่าย น้ำเคลื่อนที่สำหรับสอนเด็กว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (โดยของบจาก อปท.) 4.มีการแก้ไขแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน โดยความ ร่วมมือของชุมชนและท้องถิ่น(แหล่งน้ำที่มีคนใช้ มากและหรือมีคนจมน้ำเสียชีวิต) 5.มีระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนสามารถ นำมาวิเคราะห์หาสาเหตุ 6.มีระบบสอบสวนกรณีเสียชีวิต ทุกราย และมีการลงประชาชาคม ทุกครั้ง ที่มีเด็กเสียชีวิต 7.มีระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้ เรื่องการป้องกันเด็กจมน้ำในคลินิกเด็ก ดี/ANC/OPD/ศูนย์เด็ก 8.การประเมินผู้ก่อการดี ทุกอำเภอมาตรการ : จุดเน้น ปี 2560 1. สนับสนุน/สร้างทีม เครือข่ายผู้ก่อการดี ป้องกันการจมน้ำ 2. ดำเนินการตาม แนวทางประเมิน รับรองผู้ก่อการดี ของสำนักโรค ไม่ติดต่อ 3. ติดตามประเมิน รับรองทีม ผู้ก่อการดี ระดับอำเภอ เป้าหมายผลลัพธ์ ระยะสั้น 1.มีการสำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในทุกอำเภอ 2.การแก้ไขแหล่งน้ำเสี่ยงอย่างน้อย ร้อยละ 80 3.มีการฝึกสอน CPR ในการช่วยเหลือคนจมน้ำ ระยะยาว 1.อัตราการเสียชีวิตในเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี ลดลง 2.ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องรับรู้และร่วมมือ ดำเนินการ 3.เด็กนักเรียนอายุต่ำกว่า 15 ปี สามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ อย่างน้อย ร้อยละ 30

อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า15 ปี เป้าหมาย : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 5.0% มาตรการ : สนับสนุน/สร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดีป้องกันการจมน้ำ ติดตามประเมินรับรองทีมผู้ก่อการดี ดำเนินการตามแนวทางประเมินรับรองผู้ก่อการดีฯ สำนักโรคไม่ติดต่อ Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลการจมน้ำเป็นรายอำเภอ/ตำบล/หมู่บ้านย้อนหลัง 5 ปี ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สนับสนุน/ กระตุ้น/ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามองค์ประกอบผู้ก่อการดีระดับทองและระดับทองแดง สนับสนุน/ กระตุ้น/ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามองค์ประกอบผู้ก่อการดีระดับทองและระดับทองแดงตามแนวทางผู้ก่อการดี อำเภอที่พื้นที่เสี่ยงมาก(แดง)และอำเภอที่มีพื้นที่เสี่ยงปานกลาง(เหลือง) ร้อยละ 50 ของจำนวนตำบลในอำเภอ มีทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง อย่างน้อยอำเภอละ 1 ทีม จังหวัดศรีสะเกษต้องมีทีมผู้ก่อการดีระดับทอง อย่างน้อย 2 อำเภอ จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง พื้นที่เสี่ยงมาก ลดลงร้อยละ 20 พื้นที่เสี่ยงปานกลาง ลดลงร้อยละ 10 พื้นที่เสี่ยงน้อย ลดลงอย่างน้อย 1 คน Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลการจมน้ำเป็นรายอำเภอย้อนหลัง 5 ปี ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สนับสนุน/ กระตุ้น/ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามองค์ประกอบผู้ก่อการดีระดับทองแดง ≥ 6 องค์ประกอบ จังหวัดพื้นที่เสี่ยงมาก(แดง)และจังหวัดพื้นที่เสี่ยงปานกลาง(เหลือง) ร้อยละ 50 ของจำนวนอำเภอในจังหวัด มีทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง อย่างน้อยอำเภอละ 1 ทีม จังหวัดพื้นที่เสี่ยงน้อย(เขียว) ทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง อย่างน้อย 1 ทีม จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง พื้นที่เสี่ยงมาก ลดลงร้อยละ 20 พื้นที่เสี่ยงปานกลาง ลดลงร้อยละ 10 พื้นที่เสี่ยงน้อย ลดลงอย่างน้อย 1 คน

พื้นที่ดำเนินการ ปี 2560 การป้องกันการจมน้ำ ผู้ก่อการดีระดับทอง 1. ขุนหาญ 2. ปรางค์กู่ ผู้ก่อการดีระดับเงิน 1. กันทรลักษ์ 2. กันทรารมย์ 3. เมืองศรีสะเกษ 4. อุทุมพรพิสัย 5. ราษีไศล 6. โนนคูณ 7. ขุขันธ์ 8. ยางชุมน้อย 9. ศรีรัตนะ 10.เมืองจันทร์ 11.ห้วยทับทัน 12.ไพรบึง 13. ภูสิงห์ ผู้ก่อการดีระดับเงินหรือทองแดง 1.บึงบูรพ์ 2.น้ำเกลี้ยง 3.วังหิน 4.เบญจลักษ์ 5. พยุห์ 6. โพธิ์ศรีสุวรรณ 7. ศิลาลาด

ตัวชี้วัด PA ที่ 3 : อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ จุดเน้น 1. คัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปให้ได้ร้อยละ 90 ภายในไตรมาสที่ 2 ปี 2560 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการลดเสี่ยง โดย FCT ครบทุกราย 3. ประเมิน NCD คุณภาพใน รพ./รพ.สต. Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 60 % - ชี้เป้าตำบลจัดการสุขภาพ วัยทำงาน อำเภอละ 1 ตำบล จำนวน 206 ตำบล -จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปี ขึ้นไปพร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 90 % - กลุ่ม Pre DM& Pre HT ได้รับการกำกับติดตามโดย FCT ทุกราย - ตำบลจัดการสุขภาพวัยทำงานดำเนินการตามมาตรการ -ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 90 % - กลุ่ม Pre DM& Pre HT ได้รับการกำกับติดตามโดย FCTทุกราย - จังหวัด/อำเภอ ประเมินตำบลจัดการสุขภาพวัยทำงาน 70 ตำบล อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 (536 ต่อแสนประชากร) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ลดลง ร้อยละ 0.25 (258 ต่อแสนประชากร) จังหวัดคัดเลือกตำบลจัดการสุขภาพ อำเภอละ 1 ตำบล (จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้) ตัวชี้วัดที่ 6: อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และ/หรือ เบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงคือ ผู้ป่วยที่มีรหัส ICD10 = I10 – I15 ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวาน ในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) เป้าหมาย คือ อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 จากปี 2559 โดยเก็บข้อมูลจาก HDC มาตรการที่สำคัญ 1. คัดกรองกลุ่มเสี่ยง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 2 3 4 5 หน่วยวัด 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 ร้อยละ HT (679) (643) (607) (572) (536) ต่อแสนปชก. DM (327) (310) (293) (276) (258) ปี 57 ปี 58 ปี 59 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ต่อแสนประชากร 795 714 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ต่อแสนประชากร - 401 344 * หมายเหตุ : ปี 59 ข้อมูล ณ 26 ต.ค. 59 จาก HDC การประเมินผล : จากข้อมูล HDC ทุก 1 ปี (ปีงบประมาณ) โดยใช้ข้อมูลจาก HDC

แนวทาง 2.มาตรฐานการบำบัดรักษา 1.ระบบคัดกรอง 3.การช่วยเหลือฟื้นฟู ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด เป้าหมาย : ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 แนวทาง 2.มาตรฐานการบำบัดรักษา 2.1 การค้นหาผู้เสพ ให้ใช้แนวทาง ตามประกาศ คสช.ที่ 108/2557 2.2 พัฒนาการคัดกรอง โดยใช้แบบ คัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติด เพื่อรับการบำบัด (V2) จำแนกเป็น ผู้ใช้/ ผู้เสพ/ผู้ติด 2.3 พัฒนาศักยภาพวิทยากรค่ายศูนย์ขวัญ แผ่นดินให้ได้มาตรฐาน 2.4 พัฒนาความรู้/ทักษะเจ้าหน้าที่ผู้บำบัด ในสถานบริการสาธารณสุข 2.5 พัฒนา รพท./รพช.ให้ผ่าน HA 100% 2.6 พัฒนา รพ.สต.บำบัดยาเสพติดให้มีคุณภาพ 2.7 ระบบรายงาน บสต.ใหม่ ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา 1.ระบบคัดกรอง 1.1 พัฒนาศักยภาพศูนย์คัดกรองในอำเภอทั้งตั้งรับ/เชิงรุก และทีมคัดกรองต้องมีความรู้ในการใช้แบบคัดกรอง(V2) 1.2 รพ.สต.ดำเนินการคัดกรอง/บำบัด/ฟื้นฟู และติดตามผู้ป่วยยาเสพติด ได้อย่าง มีคุณภาพ 3.การช่วยเหลือฟื้นฟู 3.1 ติดตามช่วยเหลือฟื้นฟูให้ครบตามเกณฑ์ อย่างน้อย 4 ครั้ง 3.2 มีศูนย์ติดตามช่วยเหลือฟื้นฟูระดับจังหวัดอำเภอ 3.3 ระบบข้อมูลยาเสพติด บสต.ใหม่ รายงานให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา

ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด เป้าหมาย : ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแผนงานโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการฯ -จัดค่าศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัด ศรีสะเกษ รุนที่ 1 จัดอบรมพัฒนาบุคคลากรด้านการบำบัด รักษายาเสพติดตามความต้องการของพื้นที่ ประเมินติดตามปัญหาอุปสรรค การนำเกณฑ์การคัดแยกกลุ่มผู้ป่วยไปใช้ในพื้นที่ ติดตามและประเมินผลลัพธ์การดำเนินการ วิเคราะห์และประเมินความต้องการพัฒนาบุคลากรด้านการบำบัดรักษายาเสพติดในแต่ละพื้นที่ -สรุปผลการดำเนินงานตาม บสต.ใหม่ ทุกเดือน วิเคราะห์และประเมินความต้องการพัฒนาบุคลากรด้านการบำบัดรักษายาเสพติดในแต่ละพื้นที่ -สรุปผลการดำเนินงานตามสต.ใหม่ ทุกเดือน -สรุปผลการดำเนินงาน ตาม บสต.ใหม่ ทุกเดือน ติดตาม/แจ้งให้พื้นที่ทำแผนพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด) รพ.ทุกแห่ง ส่งแบบประเมินตนเอง (HA) /รอรับการประเมิน รพ.ทุกแห่ง รอรับการประเมิน (HA) กรมการแพทย์

จุดเน้น ปี 2560 ประเมินHA ยาเสพติด ในปีงบประมาณ 2560 จำนวน 14 อำเภอ 1. รพ.สต.ต้องผ่าน การอบรม BA-BI สามารถคัดกรอง บำบัด ฟื้นฟู ผู้เสพผู้ติด 2. การบันทึกข้อมูล ตามแบบ บสต.ใหม่ 3. พัฒนา รพท./รพช. ให้ผ่าน HA 100% 4. เป้าหมายการบำบัด -สมัครใจ -บังคับบำบัดแบบ ไม่ควบคุมตัว จำนวน 14 อำเภอ 1. กันทรลักษ์ 2. ไพรบึง 3. ราษีไศล 4. บึงบูรพ์ 5. ห้วยทับทัน 6. โนนคูณ 7. น้ำเกลี้ยง 8. วังหิน 9. เมืองจันทร์ 10.เบญจลักษ์ 11. พยุห์ 12.ศิลาลาด 13. โพธิ์ศรีสุวรรณ 14. เมืองศรีสะเกษ

เป้าหมายการบำบัดในสถานพยาบาล ปี 2560 ระบบสมัครใจและบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว ที่ อำเภอ สมัครใจ (ราย) บังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ราย) รวม (ราย) 1. เมืองศรีสะเกษ 60 300 360 2. ยางชุมน้อย 40 50 90 3. กันทรารมย์ 160 200 4. กันทรลักษ์ 130 120 250 5. ขุขันธ์ 100 80 180 6. ไพรบึง 30 70 7. ปรางค์กู่ 8. ขุนหาญ 9. ราษีไศล 110 10. อุทุมพรพิสัย 11. บึงบูรพ์ 20 10

เป้าหมายการบำบัดในสถานพยาบาล ปี 2560 ระบบสมัครใจและบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว ที่ อำเภอ สมัครใจ (ราย) บังคับบำบัด แบบไม่ควบคุมตัว (ราย) รวม (ราย) 12. ห้วยทับทัน 30 20 50 13. โนนคูณ 80 14. ศรีรัตนะ 40 33 73 15. น้ำเกลี้ยง 16. วังหิน 60 17. ภูสิงห์ 18. เมืองจันทร์ 19. เบญจลักษ์ 20. พยุห์ 10 21. โพธิ์ศรีสุวรรณ 22. ศิลาลาด   1,200 1,053 2,253

ตัวชี้วัดที่ 5 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เป้าหมาย : น้อยกว่าร้อยละ 7 แนวทางการดำเนินงาน 1.ขยายการดำเนินงานสู่ระดับ ปฐมภูมิเน้นการคัดกรอง ความเสี่ยงต่อ โรคหลอดเลือดสมอง 2.พัฒนาเครือข่ายการดำเนินงาน และระบบ Fast track ให้ได้ มาตรฐานยิ่งขึ้น 3. จัดตั้ง Stroke Unit ใน รพท. 4. พัฒนาบุคลากร 5. สื่อสารความเสี่ยงให้ประชาชน 6. พัฒนาระบบข้อมูล 7. นิเทศติดตามการดำเนินงาน ในเครือข่าย จุดเน้น ปี 2560 1. การสื่อสาร ความเสี่ยง แก่ประชาชน 2. การคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง 3. ระบบ Fast Trace 4. Stroke Unit ใน รพท. เป้าหมายผลลัพธ์ ระยะสั้น 1.เพิ่มอัตราการรับยาละลาย ลิ่มเลือดในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดตามเกณฑ์ ที่กำหนด ระยะยาว 1.ลดอัตราการตายของผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง - อบรม stroke nurse : basic course (5วัน), advance course (5วัน), manager course (2 วัน), pitfall stroke manager for physician (1 วัน)

มาตรการ ตัวชี้วัดที่ 5 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 3 เดือน เป้าหมาย : น้อยกว่าร้อยละ 7 มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ประชุมชี้แจงแนวทางดำเนินงาน ติดตาม และประเมินผล รพ.เครือข่าย จัดตั้ง Stroke Unit ในรพ.ศรีสะเกษ ตรวจรับรอง และประเมินผล SSCC ติดตาม และประเมินผลรพ.เครือข่าย (ต่อเนื่อง) จัดตั้ง Stroke Unit รพ.ศรีสะเกษ ประชุมเครือข่าย จัดทำหลักสูตรพัฒนาบุคลากร พัฒนาศักยภาพบุคลากร อบรม EMS/Taxi KM ติดตามประเมินผล จัดทำคู่มือ/สื่อ -สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชน จัดพิมพ์คู่มือโรคหลอดเลือดสมองสำหรับประชาชน เผยแพร่ข้อมูล/คืนข้อมูลสู่ชุมชน/เครือข่าย เก็บข้อมูลโรคหลอด-เลือดสมอง สรุปผลการดำเนินงาน รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล สรุปข้อมูล - อบรม stroke nurse : basic course (5วัน), advance course (5วัน), manager course (2 วัน), pitfall stroke manager for physician (1 วัน)

ตัวชี้วัดที่ 6 : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เป้าหมาย : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 27.4 ต่อแสนประชากร เป้าหมายผลลัพธ์ ระยะสั้น 1.ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับ ยาละลายลิ่มเลือด ตามเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มขึ้น 2.ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลาย ลิ่มเลือดได้รับการรักษา ตามมาตรฐาน ระยะยาว 1.ลดอัตราการตาย ในผู้ป่วยโรคหัวใจ จุดเน้นปี 2560 1. มี Warfarin Clinic ทุก รพ. 2. คัดกรอง ABI 3. สามารถให้ยา SK ทุก รพ. แนวทางการ ดำเนินงาน 1.พัฒนาศักยภาพระบบ ให้คำปรึกษาในการวินิจฉัย การรักษาโรคหัวใจ 2.ขยายเครือข่าย การดำเนินงาน สู่ปฐมภูมิ เน้นการคัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ - ประชากรไทยมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ปี 2558, สนย. กระทรวงสาธารณสุข) 32.9 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วย STEMI มีอัตราการเสียชีวิตในรพ. ปี 58 =10%, ปี 59 =13% - ผู้ป่วย STEMI ได้รับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือดหรือการทำบอลลูนขยายหลอดเลือดค่าเฉลี่ยร้อยละ 83 (ผ่านเกณฑ์ ≥ ร้อยละ 75) จำนวน 11 เขต จาก 12 เขต (ยกเว้นเขต 5) - จำนวนรพ.ตั้งแต่ระดับ F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด SK ได้ร้อยละ 100 12 เขต มีบริการสวนหัวใจ ประชุมโครงการ Save Thais from Heart Diseases 13 เขต ประชุมเครือข่าย ACS registry 13 เขต (16,789 ราย)

ตัวชี้วัดที่ 6 : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เป้าหมาย : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 27.4 ต่อแสนประชากร มาตรการ : เพิ่มศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ในเขตสุขภาพที่ติดต่อกับประชาชนโดยตรง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -จัดทำแผนงาน/โครงการ -รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล -สื่อสารความเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้แก่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต./อสม. ในการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยง -สรุปผลการดำเนินงาน -รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล -สื่อสารความเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต./ อสม. ในการเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสี่ยง -สรุปผลการดำเนินงาน -นิเทศติดตาม -พัฒนาองค์ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต./ อสม. ในการเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสี่ยง -นิเทศติดตาม - ประชากรไทยมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ปี 2558, สนย. กระทรวงสาธารณสุข) 32.9 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วย STEMI มีอัตราการเสียชีวิตในรพ. ปี 58 =10%, ปี 59 =13% - ผู้ป่วย STEMI ได้รับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือดหรือการทำบอลลูนขยายหลอดเลือดค่าเฉลี่ยร้อยละ 83 (ผ่านเกณฑ์ ≥ ร้อยละ 75) จำนวน 11 เขต จาก 12 เขต (ยกเว้นเขต 5) - จำนวนรพ.ตั้งแต่ระดับ F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด SK ได้ร้อยละ 100 12 เขต มีบริการสวนหัวใจ ประชุมโครงการ Save Thais from Heart Diseases 13 เขต ประชุมเครือข่าย ACS registry 13 เขต (16,789 ราย)

ตัวชี้วัดที่ 7 : ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก (สาขา มะเร็ง) ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด แนวทางการดำเนินงาน 1. จัดทำโครงการ/แต่งตั้ง/ประชุมคณะกรรมการ 2. จัดทำ MOU หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 4. พัฒนาระบบข้อมูลโรคมะเร็งทุกชนิด 5. สนับสุนนสื่อสุขศึกษา 6. คัดกรองประชากรเป้าหมายตามมาตรฐาน 7. จัดทำ CPG ครอบคลุมมะเร็งทุกชนิด 8. จัดทำระบบการส่งต่อ/ระบบ Fast Track ผู้ป่วยโรคมะเร็ง 9. ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ตามมาตรฐาน 10.จัดทำศูนย์ Palliative care ผู้ป่วยมะเร็ง ระดับจังหวัด/อำเภอ 11.มีการจัดตั้งศูนย์ Palliative care ผู้ป่วยมะเร็ง 12. นิเทศงานระดับอำเภอ/ตำบล จุดเน้น ปี 2560 1.การคัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ภายในไตรมาส 2 -มะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 -มะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 30 -มะเร็งตับ-มะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 80 2.การส่งต้อผู้ที่ตรวจพบผิดปกติ ร้อยละ 100 3. จัดระบบ Fast Track 4.ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดของมะเร็ง 5 อันดับแรก ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ ร้อยละ 85 5.ลดระยะเวลารอคอย เคมีบำบัด รังสีรักษาของมะเร็ง 5 อันดับแรก ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ ร้อยละ 85 6.การดูแลผู้ป่วยมะเร็งในระยะ Palliative care ร้อยละ 100

ตัวชี้วัดที่ 7 : ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก (สาขา มะเร็ง) เป้าหมาย : 1.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ 85% 2.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 85% 3.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 85% Gap -แนวทางส่งต่อไม่ชัดเจน/ครอบคลุม -สารสนเทศมะเร็ง/ผู้รับผิดชอบ -การคัดกรอง -รณรงค์ป้องกัน สถานการณ์ มะเร็ง5 อันดับแรกของเขต10 1.ตับและท่อน้ำดี 2.ปอด 3.ลำไส้ใหญ่และไส้ตรง 4.เต้านม 5.ปากมดลูก อัตราตายสูงในมะเร็งตับและท่อน้ำดี,มะเร็งปอด มาตร การ (ม) ม.1 health promotion ม.2 จัดทำคู่มือการส่งต่อ-กลับในเขต ม.3 ผ่าตัด : นอกเวลาในมะเร็งตับและท่อน้ำดี(รพ.ระดับA)/ ส่งผ่าตัดรพ.เครือข่าย ม.4 เคมีบำบัด : บริการเพิ่มใน รพ.M1 ม.5 รังสีรักษา : first visit first treatment /นัดก่อนให้ยาเคมีครบ ม.6 จัดทำฐานข้อมูลมะเร็ง 5 อันดับ เชื่อมโยงทั้งเขต(รพ.A,S,M,F 64 รพ. ) Quick Win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ม.1มีแผนรณรงค์ป้องกันลดเสี่ยง มะเร็ง ม.2 มีแผนงาน/ผู้รับผิดชอบ/ ประชุม ม.3 Sx. in 4 wks 80% ม.4 CMT in 6 wks ≥ 80% ม.5 RT in 6 wks ≥ 80% ม.6 มีแผนงาน/ผู้รับผิดชอบ/ ประชุม -จัดกิจกรรมตามแผน 50% -จัดทำคู่มือส่งต่อรับกลับ ในจังหวัด/อำเภอ -Sx. in 4 wks 80% -CMT in 6 wks ≥ 80% -RT in 6 wks ≥ 80% -ร้อยละ100 ของรพ. จัดทำทะเบียนมะเร็ง -จัดกิจกรรมตามแผน 80 % -เผยแพร่คู่มือส่งต่อรับกลับ -Sx. in 4 wks ≥ 80% -RT in 6 wks ≥ 80% - -ร้อยละ 100 ของรพ. จัดทำทำทะเบียนมะเร็ง -จัดกิจกรรมตาม แผน 80 % - การส่งต่อตามคู่มือ 80% -CMT in 6 wks ≥ 80% -RT in 6 wks ≥ 80% --ร้อยละ 100 ของรพ. จัดทำทำทะเบียนมะเร็ง

ตัวชี้วัดที่ 8 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับ เป้าหมาย : อัตราตายของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับลดลง ร้อยละ 5 ภายใน 5 ปี (วัดผลในปี 2564) จุดเน้น ปี 2560 1. การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี 2. การส่งต่อรายที่ผิดปกติทุกคน 3. เสริมสร้างศักยภาพของการตรวจวินิจฉัย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแผนรณรงค์ในจังหวัด และอำเภอ 1.สรุปผลการดำเนินงานตามแผน รณรงค์ 2.จัดทำแผนการดำเนินงาน คัดกรองในพื้นครบทุกอำเภอ และคัดกรองกลุ่มเสี่ยง โดย U/Sตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.ประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี 3.ประสานการดำเนินงานร่วมกับอำเภอ 3.ประสานการดำเนินงานร่วมกับอำเภอ 4.นิเทศติดตาม 3.นิเทศติดตาม

ตัวชี้วัดที่ 8 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับ PA กระทรวง:ร้อยละของตำบลในการเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกัน เพื่อแก้ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป้าหมายปี 2560 : คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโดยอัลตราซาวด์ ร้อยละ 80 (เป้าหมายทุกอำเภอ 25,493 ราย) พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 จำนวน 4 อำเภอ กันทรลักษ์ ขุนหาญ ยางชุมน้อย วังหิน จำนวน 5,317 ราย คัดกรอง OV ด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไปและรักษาทุกคนที่ติดเชื้อ (เป้าหมาย 80,000 ราย ในพื้นที่ 209 ตำบล) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน จัดการเรียนการสอน OV และ CCA ในพื้นที่ดำเนินการ จัดการสิ่งแวดล้อมสิ่งปฏิกูล เพื่อให้คนปลอดพยาธิ ปลอดภัย อบต./เทศบาลออกข้อกำหนดและมีการบังคับใช้ คัดกรอง CCAในประชาชน 40 ปีขึ้นไปด้วยอัลตร้าซาวด์ (เป้าหมาย 128,000 ราย) การรักษาโดยการผ่าตัด (เป้าหมาย 640 ราย) มีการดูแลแบบประคับประครองทุกราย ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป็นตัวชี้วัดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (26 ธันวาคม พ.ศ.2557) โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ (2559 – 2560) โดยกรมควบคุมโรคดำเนินการ 2 มาตรการ คือ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง 2. ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบล ที่ดำเนินการในพื้นที่ 27 จังหวัด 138 อำเภอ 209 ตำบล ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1, 6 – 10 ประเมินผลจากฐานข้อมูล Isan-cohort เก็บข้อมูลรายไตรมาส

ตัวชี้วัดที่ 9 : อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ เป้าหมาย : อัตราตายฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร มาตรการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจนของแต่ละหน่วยบริการ 2. จัดทำแผนงานโครงการ/ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมสนับสนุน/พัฒนาบุคลากรในพื้นที่ 3. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล/นำเสนอข้อมูล/คืนข้อมูล ให้ชุมชน 4. ดำเนินการเฝ้าระวัง ดูแลช่วยเหลือและติดตามดูแล ผู้พยายามฆ่าตัวตายในพื้นที่ 5. พัฒนาระบบข้อมูล 6. จิตแพทย์ เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลรักษา 7. สนับสนุนให้หน่วยบริการในพื้นที่พัฒนานวัตกรรม หรือ Best Practice 6. นิเทศติดตาม โดยทีมจิตแพทย์/เครือข่าย จุดเน้น 1.การบันทึก ข้อมูล506S ให้ครบถ้วน 2.การคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง 3.การเฝ้าระวัง กลุ่มเสี่ยง

ตัวชี้วัดที่ 9 : อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ เป้าหมาย : อัตราตายฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแผนงานโครงการ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.ดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ 1.สรุปผลการดำเนินงาน 2. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลให้ชุมชน 3. สรุปผลการดำเนินงาน ทุกเดือน 2. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลให้ชุมชน 3. สรุปผลการดำเนินงาน ทุกเดือน 2. นิเทศติดตาม 5. คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง ตามแนวทางที่กำหนด 5. เฝ้าระวังผู้ที่พยายาม ฆ่าตัวตาย 4. คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง ตามแนวทางที่กำหนด

จุดเน้น ปี 2560 กรมการแพทย์ เป้าหมาย : 65 % ตัวชี้วัดที่ 10 : ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลง ของ eGFR < 4 ml/min/1.73m2/yr เป้าหมาย : ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 65 1.มีทีมสหวิชาชีพคัดกรอง/ ดูแลรักษาตามมาตรฐาน 2.การขยายบริการคลินิกชะลอไตเสื่อมใน รพ.ทุกแห่ง และการเพิ่มศักยภาพคลินิกชะลอไตเสื่อม 3.ขยายเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย CKD ในชุมชน จุดเน้น ปี 2560 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแนวทางการดำเนินงานคลินิกชะลอ ไตเสื่อม นำแนวทางสู่การปฏิบัติ ในระดับจังหวัด/อำเภอ ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงาน ตามแนวทางฯ สรุปผลการดำเนินงานคลินิกชะลอไตเสื่อม จัดทำเกณฑ์คลินิกชะลอไตเสื่อมคุณภาพ ประเมินคลินิกชะลอไตเสื่อมตามเกณฑ์คุณภาพ สรุปผลคลินิกชะลอไตเสื่อมตามเกณฑ์คุณภาพ พัฒนาศักยภาพทีม สหวิชาชีพผู้ปฏิบัติงาน ในคลินิกชะลอไตเสื่อม ใน รพ.ทุกแห่ง พัฒนาศักยภาพทีมสหวิชาชีพผู้ปฏิบัติงานในคลินิก ชะลอไตเสื่อมใน รพ.ทุกแห่ง อบรมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ติดตาม/ประเมินผล ทีมสหวิชาชีพ รวบรวมข้อมูลการจัดทำตำรับอาหาร 4 ภาค สำหรับผู้ป่วยโรคไต จัดทำตำรับอาหาร 4 ภาค สำหรับผู้ป่วย โรคไต เผยแพร่ตำรับอาหาร 4 ภาคสำหรับผู้ป่วยโรคไตให้กับเขตสุขภาพ ติดตาม/ประเมินผลการนำตำรับอาหารไปใช้ กรมการแพทย์

ตัวชี้วัดที่ 11 : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) จุดเน้น ปี 2560 เป้าหมายปี 2560 :  ร้อยละ 80 1. การค้นหากลุ่มเสี่ยง/การประเมิน ผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการ ได้รับการประเมิน CVD Risk 2. การจัดการหลังการประเมิน กลุ่มผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูง≥30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน Small Success 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 12 เดือน ผู้ป่วย DM , HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 20% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 40% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 60% เร่งรัด พัฒนา เขตบริการที่ยังไม่บรรลุผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 80% ผู้ป่วย DM ,HT ที่มีระดับ CVD Risk≥30% เข้าถึงบริการ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน 60% ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงซ้ำ และมีความเสี่ยงลดลง ≥10% ตัวชี้วัดที่ 4: ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 ประเมินผลจากการดำเนินการค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยที่ประเมิน CVD Risk และกลุ่มดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 2 3 4 5 70 75 80 85 90 ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 77.89% การประเมินผล : ข้อมูลจากการรายงานผลการคัดกรองโดย สคร. ประเมินผลลัพธ์ 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน

เป้าหมาย : โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70 จุดเน้น ปี 2560 1.แต่งตั้ง/ประชุมคณะกรรมการระบบ EMS 2.จัดประชุมพัฒนาเครือข่าย EMSเพื่อเพิ่มทักษะการ ช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ (EMS Rally) 3.ประเมินมาตรฐานรถที่ปฏิบัติงานในระบบ EMS 4.ตรวจประเมินคุณภาพแบบปฏิบัติการในระบบ EMS เพื่อควบคุมมาตรฐาน/จ่ายค่าตอบแทน การออกปฏิบัติงาน 5.Dead Case Conference ในกรณีที่ dead ที่ ER/ ระหว่างนำส่งและเป็นกรณีที่น่าสนใจ/บุคคลสำคัญ มาตรการ 1.การพัฒนา รพ.ทุกระดับ ในระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (Emergency Care System) เพื่อรองรับ สาธารณภัย 2.มีโครงสร้าง ICS ในระดับ อำเภอ

เป้าหมาย : โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70 มาตรการ 6.พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการ ดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกันภาวะทุพลภาพ ทั้งในภาวะ ปกติและภาวะภัยพิบัติ ประกอบด้วย 6.1 การป้องกันก่อนเกิดเหตุ (Prevention) 6.2 การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (Pre hospital care) 6.3 การดูแลต่อเนื่องจนถึงห้องฉุกเฉิน (ER ) 6.4 การดูแลรักษาในโรงพยาบาล(In hospital care) 6.5 การดูแลเฉพาะทาง (Definitive care) 6.6 การส่งต่อ (Inter hospital care /Referral System) 6.7 การจัดระบบบริบาลกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ 6.8 การเตรียมแผนรองรับภัยพิบัติของสถานพยาบาล/รพ. 7.จัดให้มีผังโครงสร้างการบัญชาการ (Incidence command System: ICS) และผู้รับผิดชอบรองรับการดำเนินงาน และบัญชาการทั้งระดับ จังหวัด/อำเภอ 8.พัฒนาระบบข้อมูล 9.นิเทศติดตาม

เป้าหมาย : โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70 จังหวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาล ทุกแห่ง มีการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (Emergency Care System) เพื่อรองรับสาธารณภัย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน พัฒนาคู่มือ หลักเกณฑ์ ECS คุณภาพ จัดพิมพ์ แจกจ่าย ชี้แจง แนวทางการพัฒนา ECS คุณภาพ ในทุกระดับ จังหวัด/รพ. ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ผล พัฒนากลไกการจัดการ ที่สำคัญ สนับสนุน ความร่วมมือระหว่าง จังหวัด/อำเภอ รพ.มีการประเมิน ECS คุณภาพ จังหวัด /อำเภอ ทราบผลการประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ แนวทางพัฒนาตามนโยบายมุ่งเน้น ปี 2560   รพ.แต่ละระดับมีแผนรองรับ สาธารณภัย กำหนดบุคลากรผู้รับผิดชอบชัดเจน บุคลากร ของรพ.และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามหลักสูตร ICS หลักสูตร HOPE หลักสูตร MERT หลักสูตร Mini MERT หลักสูตร CLS ฝึกซ้อมแผนตามแผนฯ ประเมินประสิทธิภาพของหน่วยงาน ณ จุดเกิดเหตุ สรุปปัญหา และ ข้อเสนอแนะ จากโรงพยาบาล หน่วยงาน ในระดับจังหวัด/อำเภอ -เชื่อมโยงระบบ ICS/PHER/PHEOC ภายในจังหวัด/อำเภอ

RANKING ปี 2560 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

RANKING ปี 2560 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 6 ตัวชี้วัด 1.ระดับความสำเร็จการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 1) ไม่มีเด็กจมน้ำในแหล่งน้ำเดิม 2) มีป้ายเตือนในแหล่งน้ำเสี่ยง (สุ่ม) 3) เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำไม่เกิน ร้อยละ 5 2. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ 1) คัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 90 2) ติดตามกลุ่มเสี่ยง 100% 3) Pre DM/HT ลดลง ร้อยละ 0.25 ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 3. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัด ตามเกณฑ์กำหนด 1) ผู้เสพผู้ติด ได้รับการบำบัด 100% 2) ติดตามผู้เสพ/ผู้ติด ตามเกณฑ์ 100%

RANKING ปี 2560 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 6 ตัวชี้วัด ผู้ป่วยเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงควบคุมได้ 1) โรคเบาหวานควบคุมได้ ร้อยละ 40 -สุ่มการตรวจ HbA1C 2)โรคความดันโลหิตสูงควบคุมได้ ร้อยละ 50 5. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับ การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 1) ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรอง CVD Risk ร้อยละ 90 2) ส่งต่อในรายที่ผิดปกติ 100% ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 6. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งปากมดลูก 1) คัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 30 2) คัดกรองมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 3) ส่งต่อในรายที่ผิดปกติ 100%

QOF ปี 2560 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

ที่ ตัวชี้วัด เป้าหมาย หมายเหตุ   เป้าหมาย หมายเหตุ 1. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน 1.1 ร้อยละประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการ คัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจน้ำตาล ในเลือด ร้อยละ 90 ตัวชี้วัด ใหม่ 1.2 ร้อยละประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ที่ได้รับการ และวินิจฉัยเป็นเบาหวาน 2. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัย เป็นความดันโลหิตสูง 2.1 ร้อยละประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการ คัดกรองความดันโลหิตสูง    ร้อยละ 90 ตัวชี้วัด ใหม่ 2.2 ร้อยละประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ที่ได้รับการ และวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง  ตัวชี้วัด ใหม่

ที่ ตัวชี้วัด เป้า หมาย หมายเหตุ   เป้า หมาย หมายเหตุ 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์   ตัวชี้วัดเดิม 4. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก 4.1 โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบน (upper respiratory tract infection ,URI) และหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (acute bronchitis) ตัวชี้วัดใหม่ 4.2 โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)  5. ร้อยละการลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC : ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT)  6. ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี 

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ควบคุมได้ >ร้อยละ 40 ตัวชี้วัด เดิม   เป้าหมาย หมายเหตุ 7. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่ควบคุมได้ >ร้อยละ 40 ตัวชี้วัด เดิม 8. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดัน โลหิตสูงที่ควบคุมได้ >ร้อยละ 50 ตัวชี้วัด เดิม 9. คัดกรองมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี ด้วยการอัลตราซาวด์ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง >ร้อยละ 80 ที่ ตัวชี้วัด   เป้าหมาย หมายเหตุ 7. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมได้ >ร้อยละ 40 ตัวชี้วัดเดิม 8. ร้อยละของผู้ป่วยโรคโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมได้ >ร้อยละ 50 9. คัดกรองมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี ด้วยการอัลตราซาวด์ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง >ร้อยละ 80

ช่วงเวลาการนำข้อมูลมาใช้/แหล่งข้อมูล/การจัดสรรงบประมาณ 1. ช่วงเวลาการนำข้อมูลมาใช้ 1) กรณีตัวชี้วัดเดิม ใช้ข้อมูล 12 เดือน -ไตรมาสที่ 3 ,4 ปี 2559 -ไตรมาสที่ 1 ,2 ปี 2560 2) กรณีตัวชี้วัดใหม่ ใช้ข้อมูล 6 เดือน -ไตรมาสที่ 1 ,2 ปี 2560 การตั้งค่าเป้าหมาย -ตัวชี้วัดกลาง ตั้งเป้าหมาย ใช้ค่า Base line ระดับประเทศ -ตัวชี้วัดพื้นที่ ตั้งเป้าหมาย ใช้ค่า Base line ในพื้นที่  

  2. แหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ -สปสช. ใช้ข้อมูล OP-PP individual , OP e-claim และผู้ป่วยใน (IP e-claim) Data center สสจ. 3. การจัดสรรงบประมาณให้หน่วยบริการตามผลงาน แบ่งจ่ายเป็น 2 งวด -ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม 2560 โดยใช้ข้อมูลไตรมาสที่ 3 ,4 ปีงบประมาณ 2559 -ครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2560 โดยใช้ข้อมูลไตรมาสที่ 3 ,4 ปีงบประมาณ 2559 และไตรมาสที่ 1 ,2 ปีงบประมาณ 2560

สวัสดี