แพทย์หญิงปานวาด รัตนศรีทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
Advertisements

คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
การบ้านสรพ. 16ธค.54.
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
SERVICE PLAN สาขาศัลยกรรม จังหวัดกาฬสินธุ์. การดำเนินงานปี 2557 KPI  Refer out รพ. แม่ข่าย (M2, F1) < 40%  รพ. แม่ข่าย (M2, F1) ผ่าตัดไส้ติ่ง เพิ่มขึ้น.
การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
งบลงทุน 5 ปี สาขามะเร็ง.
ECT breast & Re-accredited plan
Siriporn Chitsungnoen
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
Morning talk with executive
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
Risk Management System
ทบทวนมาตรฐานHA ตอนที่ III กระบวนการการดูแลผู้ป่วย
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
เส้นทางสู่ วิชาชีพนักกฎหมาย
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
งบประมาณ ที่ได้รับ (ลบ.)
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
Clinical Tracer พญ. วรรณา ศุภศิริลักษณ์.
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
ชิ้นงานที่ 1 ( 10 คะแนน ) ( งานเดี่ยว ) นักเรียนเขียนผังงาน Flowchart แสดงกระบวนการดำเนินงานในการสร้างเว็บไซต์
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
การดูแลและแนวทางการส่งต่อ-ส่งกลับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
Risk Management in New HA Standards
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
Dr.kasemsun wanawanakorn General surgery
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
นโยบาย/แนวทางพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง จังหวัดศรีสะเกษ นางสาววิลาวัลย์
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
โรงพยาบาลหนองบัวลำภู
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แพทย์หญิงปานวาด รัตนศรีทอง แพทย์หญิงปานวาด รัตนศรีทอง OCTBER 12, 2017

KPI KPI เป้าหมาย ประเภทผู้ป่วย ผลลัพธ์ 2558 2559 2560 1. ร้อยละผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา ≤2 สัปดาห์ ≥80% NCI 100 Refer 99.51 2. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชที่ได้รับการผ่าตัด ภายใน 4 สัปดาห์ 38.1 22.9 54.17 44.1 35.6 17.65 3. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายใน 6 สัปดาห์ 83.3 92.9 87.18 83.57 86.2 39.24 4. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายใน 6 สัปดาห์ 31.84 56.1 40.0 19.96 25.5 17.54 5. อัตราผู้ป่วยรับการรักษาไม่ครบตามแผนการรักษา <10% 4.96 3.39 (6/177) 3.38(4/118) 6. อัตราการประมาณการสูญเสียเลือด > 750 ซีซี ในระหว่างการผ่าตัด 7.27(4/55) 5(2/40) 14.43(14/97) 7. อัตราการเปิดผ่าตัดซ้ำภายใน 24 ชม.จากการผ่าตัดมะเร็งนรีเวช

KPI / รายการตัวชี้วัดKPI เป้าหมาย ผลลัพธ์ 2558 2559 2560 8. อัตราการเกิดอุบัติเหตุต่ออวัยวะใกล้เคียง Bowel and Bladder, Ureter injuryจากการผ่าตัดมะเร็งนรีเวช <5% 9. อัตราการเกิดภาวะ Neutropeniaระดับ 3 หรือมากกว่าจากการได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด 2.0 (18/902visit) 1.84 (10/542visit) 1.82 (21/1154visit) 10. อัตราการทำหน้าที่ผิดปกติของกระเพาะปัสสาวะล่าช้าหลังได้รับการผ่าตัด RHND ในที่ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก <10% 19.35 (6/31) 11.11 (3/27) 12 (3/15) 11. อัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาล และการเสียชีวิตภายใน 30 วันหลังเข้านอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช (ยกเว้น palliative Rx ) 0.34 (1/275) (0/490) (0/293) 12. คะแนนคุณภาพชีวิตระหว่างการรักษา < 70 % (จาก Global EQ 5 D ) 0.22 (4 /1779visit) (0 /2057visit) (0 /1293visit) 13. อัตราการกลับเข้ามารักษาซ้ำในหอผู้ป่วยในภายใน 28 วันด้วยภาวะ แทรกซ้อนจากการรักษาเดิมที่ได้รับก่อนจำหน่าย(ยกเว้นการรักษาตาม Cycle) 2.66 (14/526visit) 0.45 (3/666visit) 0.5 (2/400visit)

ยุทธศาสตร์ที่ 4: ดูแลรักษาโรคมะเร็ง (Treatment) Objective: ปี 2558-2560 Surgery in 4 Weeks, Chemotherapy & Radiotherapy in 6 weeks = 60,70,80 % Surgery Chemotherapy Radiotherapy การรักษาต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด แนวทางแก้ไข –เพิ่มช่องทางแหล่งการรักษา ภายใต้สิทธิการรักษาผู้ป่วย

อัตราผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชได้รับการรักษาไม่ครบ อัตราผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชได้รับการรักษาไม่ครบ ลดลง แนวทางแก้ไข : วางระบบการโทรศัพท์ติดตามผู้ป่วยที่ไม่มารับการรักษาตามนัด พร้อมให้ข้อมูล และคำแนะนำ เพื่อช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยกลับมารับการรักษาให้ครบ

Complication ผู้ป่วยมะเร็งนรีเวชที่ได้รับการผ่าตัดเลาะต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบ มีโอกาสเส้นประสาทได้รับการกระทบกระเทือนระหว่างการผ่าตัด และมีแนวโน้มสูงขึ้นในปี 2559 แนวทางแก้ไข : วางแนวทางการติดตามประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัด ส่งต่อนักกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟู ให้กลับคืนปกติโดยเร็ว ภายใน 3 เดือน พบว่า : ผู้ป่วย 2 ราย ระบบประสาทกลับคืนปกติ ภายใน 2 สัปดาห์ - 3 เดือน : ผู้ป่วย 1 ราย ระบบประสาทกลับคืนปกติ ภายใน 3 เดือน

HA Scoring 2011

SA๒o๑๑ ตอนที่ III

Clinical Tracer Highlight การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก

Clinical Tracer Highlight 2. การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกชนิด neuroendocrine carcinoma