การตรวจจับสัญญาณไฟจราจรโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
Technology & Design สิทธิเดช ลีมัคเดช
หน้าที่ 1 ชื่อนักศึกษา : รหัสนักศึกษา :
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Pro/Desktop.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ภาพที่1 : ตัวอย่างข้อความชื่อภาพ
การเขียนหัวข้อ (Proposal) ที่ดี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Workshop Introduction
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การเขียน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ...
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจจับสัญญาณไฟจราจรโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับ ในประเทศไทย Traffic Light Detection Using Back Propagation Neural Networks in Thailand นนร.พิชญุตม์ ฤกษ์พิศุทธิ์1 น.ต.พิศณุ คูมีชัย2 NC. Chanapai pannoi, LCdr. Pisanu Kumeechai กองวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร ฝ่ายศึกษาโรงเรียนนายเรือ (ชื่อเรื่องภาษาไทยแบบอักษร : TH SarabunPSK ขนาด 80 ตัวหนา) (ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษแบบอักษร : TH SarabunPSK ขนาด 80 ตัวหนา) (ชื่อผู้เขียนภาษาไทย : ยศ ตำแหน่งทางวิชาการ ชื่อ และนามสกุลผู้เขียนที่ 11 ยศ ตำแหน่งทางวิชาการ ชื่อ และนามสกุลผู้เขียนที่ 22 : TH SarabunPSK ขนาด 48 ตัวหนา) (ชื่อผู้เขียนภาษาอังกฤษ : ยศ ตำแหน่งทางวิชาการ ชื่อ และนามสกุลผู้เขียนที่ 1 ยศ ตำแหน่งทางวิชาการ ชื่อ และนามสกุลผู้เขียนที่ 2 : TH SarabunPSK ขนาด 48 ตัวหนา) (กองวิชา สาขาวิชา ฝ่ายศึกษาโรงเรียนนายเรือ : TH SarabunPSK ขนาด 48 ตัวหนา) บทคัดย่อ (บทคัดย่อ : TH SarabunPSK ขนาด 54 ตัวหนา) งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการตรวจจับสัญญาณไฟจราจรโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับ (back propagation neural network) ในช่วงเวลากลางวัน ในขั้นตอนแรก ภาพสัญญาณไฟจราจรจะถูกสกัดออกจากภาพสี RGB โดยภาพ RGB นำเข้าจะถูกแปลงไปอยู่ในรูปปริภูมิสี YCbCr จากนั้น พื้นที่ที่สีแดงและสีเขียวจะถูกเลือกเป็นตัวแทน และในขั้นตอนสุดท้ายได้ใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับในการระบุสัญญาณไฟจราจรสีแดง ในการทดลองนี้ โครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับแบบสามเลเยอร์ได้ถูกปรับใช้เพื่อตรวจจับและประเมินส่วนต่างๆ ของสัญญาณไฟจราจรที่มีประโยชน์ต่อการตรวจจับ ความแม่นยำของวิธีที่นำเสนอนี้ได้ถูกเปรียบเทียบกับขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (k-nearest neighbor classification) (เนื้อความ : TH SarabunPSK ขนาด 48 ตัวหนา) วัตถุประสงค์ (วัตถุประสงค์ : TH SarabunPSK ขนาด 54 ตัวหนา) เพื่อสร้างซอฟต์แวร์ที่สามารถตรวจจับสัญญาณไฟจราจรสีแดงได้อย่างถูกต้อง และพัฒนาแนวคิดขั้นตอนวิธีการตรวจสอบสีของสัญญาณไฟจราจรแล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการตรวจจับผู้กระทำผิดและลดอุบัติเหตุบนท้องถนนได้ต่อไปในอนาคต การกระจายฮิสโตแกรมของ Y channel การกระจายฮิสโตแกรมของ Cb channel การกระจายฮิสโตแกรมของ Cr channel ผังงานของวิธีการที่นำเสนอ สถาปัตยกรรมของโครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับที่ได้รับการพัฒนาขึ้น แสดงแต่ละ channel ของปริภูมิสี YCbCr (บทสรุป : TH SarabunPSK ขนาด 54 ตัวหนา) (เนื้อความ : TH SarabunPSK ขนาด 48 ตัวหนา) บทสรุป ในงานวิจัยนี้ เราได้เสนอวิธีการตรวจจับสัญญาณไฟจราจรสีแดง วิธีการนี้จะสามารถช่วยตรวจจับได้ว่าผู้ขับขับฝ่าสัญญาณไฟจราจรสีแดงหรือไม่โดยใช้ภาพสีในปริภูมิสี YCbCr และโครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับ ในการทดลองนี้ เราใช้โครงข่ายประสาทเทียมแบบส่งค่าย้อนกลับแบบสามเลเยอร์เพื่อตรวจจับสัญญาณไฟจราจรสีแดงและประเมินส่วนต่างๆ ของสัญญาณไฟจราจรในการตรวจจับว่าไม่มีสัญญาณไฟจราจรสีแดงอยู่หรือไม่ ซึ่งวิธีการที่เราเสนอนั้นให้ความแม่นยำในการตรวจจับสัญญาณไฟจราจรสีแดงที่ 94% เรายังทำการเปรียบเทียบกับวิธีการอื่นเพื่อตรวจจับสัญญาณไฟจราจรสีแดงโดยใช้ขั้นตอนวิธีการเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด ซึ่งให้ความแม่นยำที่55% อย่างไรก็ตามยังมีสัญญาณไฟจราจรบางประเภทที่จะเปลี่ยนสีไปตามแต่ละช่วงเวลา (เนื้อความ : TH SarabunPSK ขนาด 48 ตัวหนา) กิตติกรรมประกาศ (กิตติกรรมประกาศ : TH SarabunPSK ขนาด 54 ตัวหนา) งานวิจัยนี้สำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือของกองวิชาวิศวกรรมศาสตร์และสำนักงานวิจัยโรงเรียนนายเรือ (เนื้อความเอกสารอ้างอิง : TH SarabunPSK ขนาด 32 ตัวหนา) เอกสารอ้างอิง [1] D. T. Pankaj and M. E. Patil, “Recognition of traffic symbols using Kmeans and shape analysis”, International Journal of Engineering Research and Technology (IJERT) Vol 2 No. 5, pp. 162-169. SSN : 2278- 0181, 2013. [2] A. Danti, and Y. Kulkarni, “Images Processing Approach To Detect Road Sign in India Roads”, International Journal Of Research in Advent Technology, Vol 1, Issue 5, pp. 409-417, 2013. [3] A. V. Deshpande, “Design Approach for a Novel Traffic Sign Recognition System by Using LDA and Images Segmentation by Exploring the Color and Shape Feature of an Image”, International Journal of Engineering Research and Applications, Vol. 4 Issue 11 November 2014, pp. 20-26, 2014. [4] T. Boongoen, N. Iam-On and B. Undara,“Improving Face Detection with Bi-Level Classification Model,” RTAFA Journal of Science and Technology, 12:52-63, 2016. (หัวข้อเอกสารอ้างอิง : TH SarabunPSK ขนาด 54 ตัวหนา) 1 นักเรียนนายเรือชั้นปีที่ 5 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร โรงเรียนนายเรือ E-mail : ppichayut@hotmail.com 2 อาจารย์ประจำฝ่ายศึกษาโรงเรียนนายเรือ E-mail : pisanu41984198@hotmail.com (คำอธิบายชื่อจากตรงหัวข้อใส่ ชั้นปี สาขาวิชา E-mail : TH SarabunPSK ขนาด 32 ตัวหนา)