ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
มาตรฐาน การบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เกรียงไกร ยอดเรือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
การประชุม ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การประชุม Web Conference
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขายาและสารเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2561 ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

ระเบียบวาระการประชุม วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน (ไม่มี) วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษายาเสพติด - ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ 3.2 การลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm reduction) 3.3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านยาเสพติด 3.4 การใช้กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) ในการขับเคลื่อน การค้นหาและติดตามผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ให้มีประสิทธิภาพ วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 พิจารณากำหนดโรงพยาบาลที่จะเป็น Harm reduction unit 4.2 พิจารณากำหนดพื้นที่ การบำบัดโดยชุมชน (Community base therapy) 4.3 การเร่งรัดการค้นหาและบำบัดผู้ป่วยยาเสพติดในระบบสมัครใจสถานพยาบาล วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ

ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน (ไม่มี) วาระที่ 2 เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน (ไม่มี)

วาระที่ 3 แจ้งเพื่อทราบ

วาระที่ 3.1 รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านการบำบัดยาเสพติด ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ระบบสมัครใจ งานยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ อรัญญา แพจุ้ย โรงพยาบาลธัญญารักษ์เชียงใหม่ ก้องเกียรติ อุเต็น โรงพยาบาลสวนปรุง

ทุกระบบ 210,700 คน เป้าหมายการบำบัดยาเสพติด ประเทศไทย 2561 เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย ทุกระบบ 210,700 คน ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ 130,000 คน 60,500 คน 20,200 คน สถานพยาบาล ค่ายศูนย์ขวัญฯ กรมราชทัณฑ์ กรมพินิจฯ 77,500 คน 52,500 คน 17,700 คน 2,500 คน ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว 35,500 คน 25,000 คน

เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 10,176 ราย เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย สมัครใจ บังคับบำบัด ค่ายฯ สมัครใจ 108 ต้องโทษ 6,513 ราย 2,093 ราย 900 ราย 670 ราย สป. 4,443 ธัญญารักษ์ 1,850 สวนปรุง 220 ควบคุมตัว 1,162 ไม่ควบคุมตัว 931 กรมราชทัณฑ์ 550 กรมพินิจฯ 120 จังหวัดเชียงใหม่มีเป้าหมายในการบำบัด 10,176 ราย ซึ่งมากกว่าปี 2560 ถึง 4,073 ราย (เดิม 6,103 ราย) ที่เพิ่มขึ้นเป็นระบบสมัครใจสถานพยาบาล ในครั้งแรกได้รับจัดสรรเป้าหมาย 931

“การบำบัดยาเสพติด ในสถานพยาบาล” ผู้ใช้ การให้คำแนะนำแบบสั้น (Brief Advice) การบำบัดแบบสั้น (Brief Intervention) ใช้การบำบัดแบบสั้น (Brief Intervention ) การบำบัดแบบเสริมแรงจูงใจ (Motivational Interviewing) (Motivational Enchantment Therapy) การบำบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy) จิตสังคมบำบัด ได้แก่ Modified Matrix อย่างน้อย ๓ – ๑๒ ครั้ง ใน ๔ เดือน ร่วมกับ การรักษาด้วยยา การรักษาโรคร่วมทางจิตเวช และสุ่มตรวจปัสสาวะ อย่างน้อย ๒ ครั้ง ผู้เสพ

“การบำบัดยาเสพติด ในสถานพยาบาล” ผู้ติด CBT/ จิตสังคมบำบัดอย่างย่อแบบ ๑๖ ครั้ง/(Motivational Enchantment Therapy MET) ทุกสัปดาห์ เป็นระยะเวลา ๔ เดือน (๑๖ ครั้ง) รวมราย บุคคล ๓ ครั้ง และครอบครัว ๓ ครั้ง การรักษาด้วยยา และการรักษาโรคร่วมทางจิตเวช (ถ้ามี) และการสุ่มตรวจปัสสาวะสารเสพติด อย่างน้อย ๔ ผู้ติดรุนแรง ส่งต่อ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ผู้เสพ/ผู้ติดที่มีอาการทางจิตเวชร่วมที่รุนแรง ส่งต่อ โรงพยาบาลสวนปรุง

สถานพยาบาลที่สามารถบำบัดผู้เสพฝิ่น และอนุพันธ์ของฝิ่นด้วยเมทาโดน พัฒนาการจัดบริการ MMT แม่อาย ฝาง ไชยปราการ เชียงดาว เวียงแหง พร้าว แม่แตง ธัญญารักษ์ นครพิงค์ ฟ้าใหม่ จอมทอง อมก๋อย แม่แจ่ม

การรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด) ลำดับ โรงพยาบาล สถานะปัจจุบัน 1 พร้าว ผ่านการรับรองคุณภาพฯ 2 สันป่าตอง 3 สันกำแพง 4 แม่ออน 5 สะเมิง 6 แม่แตง 7 จอมทอง 8 สันทราย 9 เชียงดาว 10 หางดง 11 แม่อาย 12 ดอยสะเก็ด ลำดับ โรงพยาบาล สถานะปัจจุบัน 13 แม่วาง ผ่านการรับรองคุณภาพฯ 14 เทพรัตนฯ 15 ดอยเต่า 16 ไชยปราการ 17 เวียงแหง ได้รับการตรวจเยี่ยมแล้ว 18 ฮอด 19 ฝาง 20 นครพิงค์ 21 วัดจันทร์ 22 อมก๋อย หมดอายุ ปี 2559 23 สารภี หมดอายุ ปี 2558 24 ดอยหล่อ อมก๋อย สารภี ดอยหล่อ วางแผนจัดทำแบบประเมินตนเอง

จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดฯ แยกตามระบบ จังหวัดเชียงใหม่ 1 ตุลาคม 2560 – 24 พฤษภาคม 2561 แผนงาน เป้าหมาย ทั้งปี ผลงานสะสม ร้อยละ 1. สมัครใจ 7,413 3,675 49.58 - สถานบำบัด 6,513 3,151 48.38 - ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 900 524 58.22 2. บังคับบำบัด 2,093 1,662 79.41 - ควบคุมตัว 1,162 558 48.02 - ไม่ควบคุมตัว 931 1,101 118.26 3. ต้องโทษ 670 303 45.22 - กรมราชทัณฑ์ 550 222 40.36 - กรมพินิจฯ 120 81 67.50 รวม 10,176 5,640 55.42 ธัญญารักษ์ เป้า 1850 บำบัดได้ 703 คิดเป็นร้อยละ 38.00 สวนปรุง เป้า 220 บำบัดได้ 82 คิดเป็นร้อยละ 23.64 สป. เป้า 4443 บำบัดได้ 1784 คิดเป็นร้อยละ 40.16 ควบคุมตัว เป้า 1162 บำบัดได้ 396 คิดเป็นร้อยละ 34.08 ไม่ควบคุมตัว เป้า 931 บำบัดได้ 979 คิดเป็นร้อยละ 105.16 อีก 481 ราย จะครบ 50%

จังหวัดที่มีผู้เข้ารับการบำบัดสูงสุด 5 ลำดับแรก แยกตามระบบ 1 ตุลาคม 2560 – 24 พฤษภาคม 2561 ลำ ดับ สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม จังหวัด จำนวน 1 เชียงใหม่ 3,675 กรุงเทพฯ 4,633 ปทุมธานี 748 7,222 2 สงขลา 3,121 อุบลฯ 2,901 ลำปาง 538 5,640 3 2,702 1,662 นครราชสีมา 515 4,787 4 2,329 1,340 508 4,284 5 2,279 นครปฐม 1,232 อุบลราชธานี 370 4,184

จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด แยกรายหน่วยงานจังหวัดเชียงใหม่ 1 ต. ค จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด แยกรายหน่วยงานจังหวัดเชียงใหม่ 1 ต.ค. 2560 – 24 พ.ค. 2561

จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด แยกรายหน่วยงานจังหวัดเชียงใหม่ 1 ต. ค จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด แยกรายหน่วยงานจังหวัดเชียงใหม่ 1 ต.ค. 2560 – 24 พ.ค. 2561 อมก๋อย - สมัครใจ 1,286 - บังคับบำบัด 16

45.48 % ร้อยละการบำบัดระบบสมัครใจ เปรียบเทียบเป้าหมาย จำแนกรายโรงพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ 1 ต.ค. 2560 – 24 พ.ค. 2561 45.48 %

ร้อยละการบำบัดระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว เปรียบเทียบเป้าหมาย จำแนกรายโรงพยาบาล จังหวัดเชียงใหม่ 1 ต.ค. 2560 – 24 พ.ค. 2561 118.3%

อัตราคงอยู่ในระบบการบำบัดยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ 1 ตุลาคม 2560 – 24 พฤษภาคม 2561 โรงพยาบาล สมัครใจ บังคับบำบัด รวม เทพรัตนฯ 100 ไชยปราการ - ดอยหล่อ วัดจันทร์ ฮอด อมก๋อย 99.92 58.82 99.36 ฝาง 90.24 97.53 เวียงแหง 98.95 72.22 94.69 เชียงดาว 95.6 90.6 92.5 นครพิงค์ 92.59 90.97 91.23 จอมทอง 86.96 93.75 89.74 แม่อาย 90.18 79.1 87.63 โรงพยาบาล สมัครใจ บังคับบำบัด รวม สันกำแพง 66.67 88.61 87.06 สันทราย 85.71 83.33 83.49 หางดง 100 82.09 ดอยสะเก็ด 81.36 82.81 พร้าว 88.89 75 81.82 สารภี 79.71 81.58 แม่วาง 76.19 77.27 แม่แตง 90.82 59.84 73.33 สันป่าตอง 60 65.62 ดอยเต่า - 50 สะเมิง 37.5 40 แม่ออน

ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา จำแนกรายอำเภอ 1 ต.ค. 2560 – 24 พ.ค. 2561 71.9 71.9

ศูนย์ปรับเปลี่ยนฯ จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2561 รุ่นที่ วันที่ เป้าหมาย ทีมตรวจสุขภาพ ทีมรักษาพยาบาล 1 27 พ.ย. – 8 ธ.ค. 100 นครพิงค์ สารภี 2 14 – 25 ธ.ค. เมืองเชียงใหม่ 3 8 – 19 ม.ค. สันทราย 4 5 – 16 ก.พ. สันกำแพง หางดง 5 5 – 16 มี.ค. ดอยสะเก็ด 6 19 – 30 เม.ย. แม่ริม 7 14 – 25 พ.ค. 8 4 – 15 มิ.ย. 9 21 มิ.ย. – 2 ก.ค.

ผลการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในผู้เข้ารับการตรวจเลือก ทหารกองเกินเข้ารับราชการทหารกองประจำการ รายการ ปี 2560 ปี 2561 ผู้เข้ารับการตรวจคัดเลือกทั้งหมด NA 11,694 ตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดทั้งหมด 10,988 7,023 พบสารเสพติดใน ปัสสาวะ 579 285 ร้อยละ 5.27 4.06

พบสารเสพติดในปัสสาวะ ผลการตรวจปัสสาวะ ปี 2560 น้อยสุด 3 ราย ฝาง 3 มากกว่าร้อยละ 10 เวียงแหง เชียงดาว พร้าว 11 ร้อยละ 5 - 10 แม่แตง สันทราย สะเมิง 6 ร้อยละ 2.5 - 5 แม่แจ่ม แม่วาง 4 น้อยกว่าร้อยละ 2.5 จอมทอง สูงสุด 57 ราย ฮอด พบสารเสพติดในปัสสาวะ ทุกอำเภอ ดอยเต่า อมก๋อย ยกเว้น อำเภอกัลยาณิวัฒนา

พบสารเสพติดในปัสสาวะ สูงสุด 33 ราย ผลการตรวจปัสสาวะ ปี 2561 ฝาง 3 มากกว่าร้อยละ 10 น้อยสุด 2 ราย เวียงแหง เชียงดาว พร้าว 7 ร้อยละ 5 - 10 แม่แตง สันทราย สะเมิง 7 ร้อยละ 2.5 - 5 แม่แจ่ม แม่วาง น้อยสุด 2 ราย 7 น้อยกว่าร้อยละ 2.5 จอมทอง ฮอด พบสารเสพติดในปัสสาวะ ทุกอำเภอ ดอยเต่า อมก๋อย ยกเว้น อำเภอกัลยาณิวัฒนา

อัตราการตรวจพบสารเสพติดในปัสสาวะ ผู้เข้ารับการตรวจเลือกทหารกองเกิน จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2561 ร้อยละ

สูงสุด 33 ราย น้อยสุด 3 ราย น้อยสุด 2 ราย น้อยสุด 2 ราย สูงสุด 57 ราย สูงสุด 33 ราย น้อยสุด 3 ราย ฝาง ฝาง เวียงแหง น้อยสุด 2 ราย เวียงแหง เชียงดาว เชียงดาว พร้าว พร้าว แม่แตง แม่แตง สันทราย สันทราย สะเมิง สะเมิง แม่แจ่ม แม่แจ่ม แม่วาง แม่วาง น้อยสุด 2 ราย จอมทอง จอมทอง สูงสุด 57 ราย ฮอด ฮอด ดอยเต่า ดอยเต่า อมก๋อย อมก๋อย

ปัญหา/อุปสรรค ผู้เสพยาเสพติด เข้ารับการบำบัดในระบบสมัครใจ น้อย การบันทึกข้อมูล ผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติด ยังไม่ครบถ้วน การส่งต่อข้อมูล บสต. ระบบบังคับบำบัด ยังมีข้อขัดข้อง ผู้เข้ารับการบำบัดในระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว

วาระที่ 3.2 รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านการบำบัดยาเสพติด ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ระบบบังคับบำบัด นงนุช กุมศัสตรา สำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยโทบุญนำ ทองจัตุ กองพันสัตว์ต่าง

วาระที่ 3.3 รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านการบำบัดยาเสพติด ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข ระบบต้องโทษ มนตรี หอมจันทร์ เรือนจำกลางจังหวัดเชียงใหม่ นพรัตน์ ธิโนชัย ทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่

การลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm reduction) วาระที่ 3.4 การลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm reduction) พญ.พอใจ มหาเทพ โรงพยาบาลสารภี

การลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด 10 ชุดบริการด้านสุขภาพการลดอันตรายจากการใช้ยา ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด 1 การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยยาเสพติด HIV STI TB Hep B/C (Health education) 2 การบำบัดรักษายาเสพติดโดยใช้สารทดแทนระยะยาว MMT 3 การจัดให้มีบริการป้องกันและดูแลรักษาอาการจากการใช้ยาเสพติดเกินขนาด เช่น Naloxone 4 การให้คำปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ และส่งต่อบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 5 การให้คำปรึกษา ตรวจหา และส่งต่อเข้ารับการรักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซี 6 การสนับสนุนให้ใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดที่สะอาด 7 การสนับสนุนให้ใช้ถุงยางอนามัย อย่างถูกวิธี (Condom) 8 การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Test & Treat STD) 9 การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และรักษาวัณโรค (Test & Treat TB) 10 การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาโรคทางจิตเวช (Psychiatric RX) * รพ.สต. ควรดำเนินการอย่างน้อย 2 ชุดบริการ ได้แก่ Health education และ Condom

การลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด 6 ชุดบริการด้านสุขภาพการลดอันตรายจากการใช้ยา ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีอื่นๆ 1 การให้ความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยยาเสพติด HIV STI TB Hep B/C (Health education) 2 การใช้ยาเพื่อลดอาการจากการใช้ยาเสพติด 3 การให้คำปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ และส่งต่อบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 4 การสนับสนุนให้ใช้ถุงยางอนามัย อย่างถูกวิธี (Condom) 5 การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Test & Treat STD) 6 การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาโรคทางจิตเวช (Psychiatric RX) * รพ.สต. ควรดำเนินการอย่างน้อย 2 ชุดบริการ ได้แก่ Health education และ Condom

บันทึกข้อมูล การจัดบริการชุดลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ลำดับ ชุดบริการ รหัสโรคอื่น (ICD-9/ICD-10) น้ำหนัก 1 Health education 9449 2 MMT/Naloxone ใช้ข้อมูลแฟ้ม Drug 3 VCT Z 71.7 4 Test&Treat HBV/HCV Z 114 5 condom Z 30.8 6 Test&Treat STD Z 113 7 Test&Treat TB Z 111 8 Psychiatric Rx Z 133 รหัสโรคหลัก ICD-10 = F 11-16 , F 18-19 (ลงรหัส Z ก่อน แล้วจึงตามด้วย F)

https://hdcservice.moph.go.th 

862 คน จำนวนผู้บำบัดยาเสพติด ที่ได้รับบริการ ความรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยยาเสพติด HIV STI TB Hep B/C 862 คน

3 คน จำนวนผู้บำบัดยาเสพติด ที่ได้รับบริการ การบำบัดรักษายาเสพติดโดยใช้สารทดแทนระยะยาว MMT 3 คน

จำนวนผู้บำบัดยาเสพติด ที่ได้รับบริการ การให้คำปรึกษาและตรวจการติดเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ และส่งต่อบริการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 5 คน

3,306 คน จำนวนผู้บำบัดยาเสพติด ที่ได้รับบริการ การสนับสนุนให้ใช้ถุงยางอนามัย อย่างถูกวิธี 3,306 คน

15 คน จำนวนผู้บำบัดยาเสพติด ที่ได้รับบริการ การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 15 คน

1,418 คน จำนวนผู้บำบัดยาเสพติด ที่ได้รับบริการ การคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาโรคทางจิตเวช 1,418 คน

วาระที่ 3.5 ระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านยาเสพติด ยุทธนา ตาสุภา ยุทธนา ตาสุภา งาน IT สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

วาระที่ 3.6 การใช้กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) ในการขับเคลื่อน การค้นหาและติดตามผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ให้มีประสิทธิภาพ ทวีศิลป์ ชัยชนะ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสันป่าตอง

วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา

พิจารณากำหนด โรงพยาบาลที่จะเป็น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ วาระที่ 4.1 พิจารณากำหนด โรงพยาบาลที่จะเป็น Harm reduction unit งานยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

พิจารณา กำหนดโรงพยาบาลที่จะเป็น Harm Reduction unit จังหวัดเชียงใหม่ 1. ด้านสถานที่/เครื่องมือ ( ขนาดพื้นที่ ไม่น้อยกว่า 4 X 4 เมตร , ห้องจัดกิจกรรม ขนาดไม่ต่ำกว่า 70 ตารางเมตร, อุปกรณ์รองรับการทิ้งเข็ม) 2. ด้านการจัดบริการสุขภาพและสังคม ( การจำแนกคัดกรองผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง และประสานการรับส่งต่อ ให้ได้รับบริการที่เหมาะสม มีการจัดบริการด้านสุขภาพการลดอันตรายจากยาเสพติด พร้อมทั้งสนับสนุน ด้านการศึกษา ความรู้ อาชีพ ฯลฯ) 3. ด้านกำลังคน (ทีบริหารจัดการ รวม 5 คน 1.แพทย์ 2.พยาบาลทั่วไป/พยาบาลยาเสพติด* 3.นักสังคมสงเคราะห์* 4.นักจิตวิทยา* 5.นวก.สส* (*ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรยาเสพติด (Case Manager)) และ อาสาสมัคร(ภาคประชาสังคม/เอกชน/ภาคประชาชน)) 4. ด้านระบบข้อมูล (การบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน มีคุณภาพ รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล และการควบคุมกำกับระบบรายงานในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม และ ระบบรายงาน บสต.)

วาระที่ 4.2 พิจารณากำหนดพื้นที่ การบำบัดโดยชุมชน (Community base therapy) งานยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

การแก้ไขปัญหา บุหรี่ ยาเสพติด โดยใช้กลไก คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.)

การแก้ไขปัญหา บุหรี่ ยาเสพติด โดยใช้กลไก พชอ. เป้าหมาย 10 อำเภอ กิจกรรมหลัก บำบัดผู้สูบบุหรี่ให้เลิกสูบ 500 คน ขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ค้นหา และคัดกรอง ผู้เสพยาเสพติด ในชุมชน และสถานศึกษา พัฒนารูปแบบ “ชุมชนบำบัด” (ค้นหา คัดกรอง บำบัดและติดตาม ในชุมชน โดยชุมชน) อย่างน้อย 1 แห่ง งบประมาณ 70,000 บาท (บุหรี่ 20,000 บาท, ยาเสพติด 50,000 บาท) ขับเคลื่อนด้วยกลไก พชอ.

วาระที่ 4.3 การเร่งรัดการค้นหาและบำบัดผู้ป่วยยาเสพติด ในระบบสมัครใจสถานพยาบาล งานยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ