งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุม Web Conference

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุม Web Conference"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุม Web Conference
แจ้งนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน ยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2560 วันที่ 10 พฤศจิกายน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

2 ระเบียบวาระการประชุม
วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ร้อยเอกภูรีวรรธน์ โชคเกิด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ วาระที่ ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานยาเสพติด ปี 2560 นพ.วรัญญู จำนงประสาทพร รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ วาระที่ 3 เรื่องอื่นๆ

3 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

4 แจ้งเพื่อทราบ แสดงความยินดี
นางสาวนภาพร มีหน้อย โรงพยาบาลไชยปราการ ได้รับรางวัลธัญญารักษ์อวอร์ด จากสถาบันธัญญารักษ์ นางสุมาลี ฝ่ายริพล โรงพยาบาลสันป่าตอง ได้รับรางวัลด้านการบำบัดรักษาดีเด่น จาก ศอปส.จังหวัดเชียงใหม่ Methamphetamine ยังคงเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ประเภท 1 แต่มีการพิจารณาให้ Amphetamine เป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ประเภท 2 กัญชา ยังเป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5  แต่มีการส่งเสริม กัญชง ในเชิงอุตสาหกรรม สิ่งทอ Service plan สาขายาและสารเสพติด มี นพ.วรัญญู จำนงประสาทพร รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธาน ขอแสดงความยินดี นางสาวนภาพร มีหน้อย โรงพยาบาลไชยปราการ ได้รับรางวัลธัญญารักษ์อวอร์ด โดยมีผลงานดีเด่นด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟู. สมรรถภาพผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด จากสถาบันธัญญารักษ์ นางสุมาลี ฝ่ายริพล โรงพยาบาลสันป่าตอง รางวัลด้านการบำบัดดีเด่น จากศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ Methamphetamine ยังคงเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ประเภท 1 แต่มีการพิจารณาให้ Amphetamine ซึ่งมีประโยชน์ในการรักษา โรคสมาธิสั้น (ADHD: attention-deficit hyperactive disorder), ภาวะง่วงเกิน Narcolepsy), โรคอ้วน (Obesity) เป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ประเภท 2 กัญชา ยังเป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5  แต่มีการส่งเสริม กัญชง ในเชิงอุตสาหกรรม สิ่งทอ (การปลูกต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุข) Service plan สาขายาและสารเสพติด มี นพ.วรัญญู จำนงประสาทพร รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธาน

5 ทุกระบบ 220,000 คน เป้าหมายการบำบัด รักษายาเสพติด ของประเทศไทย
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย ทุกระบบ 220,000 คน ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ 127,300 คน 72,500 คน 20,200 คน สถานพยาบาล ค่ายศูนย์ขวัญฯ กรมราชทัณฑ์ กรมพินิจฯ 74,000 คน 53,300 คน 17,700 คน 2,500 คน ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว 41,000 คน 31,500 คน

6 เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,103 ราย
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย สมัครใจ บังคับบำบัด ค่ายฯ สมัครใจ 108 ต้องโทษ 2,972 ราย 1,611 ราย 800 ราย 720 ราย ควบคุมตัว 952 ไม่ควบคุมตัว 659 กรมราชทัณฑ์ 600 กรมพินิจ 120

7 ข้อสั่งการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย กลไกการดำเนินงานยาเสพติด จัดตั้งหน่วยงานยาเสพติด ระดับเขต จังหวัด อำเภอ มาตรการส่งเสริมป้องกัน บำบัดฟื้นฟู และลดอันตรายด้านยาเสพติด มาตรการด้านส่งเสริมป้องกัน ดำเนินการโครงการ To be number one อย่างจริงจังและต่อเนื่อง รณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโทษจากยาเสพติด แก่ประชาชน และเยาวชน สร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันยาเสพติด ในสถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชน ตามกลไกประชารัฐ

8 ข้อสั่งการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย มาตรการส่งเสริมป้องกัน บำบัดฟื้นฟู และลดอันตรายด้านยาเสพติด มาตรการด้านการบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด ให้ รพ.สต., รพช., รพท., รพศ. ดำเนินการคัดกรองยาเสพติด ประกอบด้วยการสื่อสารเชิงบวก การคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด โดยใช้แบบคัดกรอง V2 ให้ รพ.สต., รพช., รพท., รพศ. ดำเนินการบำบัดฟื้นฟูและติดตามผู้ป่วยยาเสพติด ประกอบด้วยการประเมินทางคลินิก การบำบัดฟื้นฟูและติดตามผู้ป่วยยาเสพติด ตามศักยภาพของสถานบริการที่มาตรฐานกำหนด

9 ข้อสั่งการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย มาตรการส่งเสริมป้องกัน บำบัดฟื้นฟู และลดอันตรายด้าน ยาเสพติด มาตรการลดอันตราย (Harm reduction) ให้ รพ.สต., รพช., รพท., รพศ. ดำเนินการลดอันตราย (Harm reduction) ประกอบด้วยการให้ความรู้ การประเมินความเสี่ยงในการป้องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS, จัดระบบบริการ VCT, การจัดบริการ Methadone ตามบริบทปัญหา และศักยภาพของสถานบริการที่มาตรฐานกำหนด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ดำเนินการกำกับ ติดตาม ดูแลมาตรฐานการบำบัดฟื้นฟู ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง 3 ระบบ

10 ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานยาเสพติด ปี 2560
วาระที่ 2 ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานยาเสพติด ปี 2560

11 การดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ยาเสพติด ปี 2560
จุดเหมือน : ให้การบำบัดรักษาทั้ง ๓ ระบบ แต่เน้นการดำเนินงานในระบบสมัครใจ การใช้มาตรการตามประกาศ คสช.ที่ 108 การมีกลไกในพื้นที่ เช่น ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ศูนย์เพื่อประสานการดูแลฯ จุดคล้าย : การบำบัดในรูปแบบค่ายปรับเปลี่ยนฯ สมัครใจ การบำบัดในระบบบังคับบำบัด แบบควบคุมตัว การบำบัดในระบบต้องโทษ * หน่วยภาคีดำเนินการ : สธ. เข้ามากำกับ มาตรฐาน จุดต่าง : การบำบัดในระบบบังคับบำบัด แบบไม่ควบคุมตัว (สธ.ดำเนินการ) รพ.สต. ร่วมดำเนินการ ระบบข้อมูลการบำบัดรักษา บสต.ใหม่

12 คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ
แนวทางการค้นหา คัดกรอง บำบัดรักษา ติดตามช่วยเหลือ ผู้ป่วยยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ สธ. มท. ศธ. รง. และภาคีเครือข่าย มาตรการสื่อสารเชิงบวก, โครงการ TO BE NUMBER ONE, ครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ มท. ตำรวจ ปปส. กห. และภาคีเครือข่าย จัดระเบียบสังคม ตั้งจุดตรวจ ปิดล้อม/ตรวจค้น การ ค้นหา สมัครใจ คสช.108 ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ การ คัดกรอง รพ.สต. (267 แห่ง) คัดกรองด้วย V2 V2 > 3 โรงพยาบาล (26 แห่ง) คัดกรองด้วย V2, ตรวจยืนยัน คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว ผู้ใช้ V2=2-3 ผู้เสพ V2=4-26 ผู้ติด V2 >=27 ไม่เข้มงวด เข้มงวด การ บำบัด รพ.สต./โรงพยาบาล Brief Advice/ Brief Intervention ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน 9 วัน+ฝึกอาชีพ 30 ชม. - กองร้อย อส.จ.ชม.ที่ 1 - กองพันพัฒนาที่ 3 (5 อำเภอชายแดน) โรงพยาบาล บำบัดแบบผู้ป่วยนอก ศูนย์ฟื้นฟูฯ กองบิน 41 กรมราชทัณฑ์ - เรือนจำกลาง ชม. - ทัณฑสถานหญิง ชม. กรมพินิจฯ - ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กฯ - สถานพินิจและคุ้มครอง โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เรื้อรัง รุนแรง ศูนย์วิวัฒน์พลเมือง กองพันสัตว์ต่าง โรงพยาบาลสวนปรุง มีอาการจิตเวชรุนแรง การ ติดตาม ระบบสมัครใจ สธ. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ค่ายศูนย์ขวัญฯ มท. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ระบบบังคับบำบัด มท. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ระบบต้องโทษ กรมราชทัณฑ์/กรมพินิจ ร่วมกับหน่วยงานภาคี. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับภาคีเครือข่าย ดำเนินการ กำกับ ให้บำบัด รักษา ตามมาตรฐาน ทั้ง 3 ระบบ

13 การค้นหา เน้นการให้ข้อมูล ประโยชน์ของการเข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติด โดยความสมัครใจ ร่วมกับ ปกครอง ตำรวจ ทหาร ในบทบาทผู้ตรวจปัสสาวะเพื่อคัดกรองหาสารเสพติด ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ส่งผู้ต้องสงสัยฯ เข้าศูนย์คัดกรองอำเภอ

14 การค้นหา การส่งตัวเข้าระบบบังคับบำบัด
ไม่ยินยอมเข้ารับการบำบัด ในระบบสมัครใจ เข้าสู่กระบวนการบำบัด เกิน 5 ครั้ง หลบหนีการบำบัด เกิน 2 ครั้ง

15 การคัดกรอง รพ.สต. ทุกแห่ง ต้องสามารถคัดกรองผู้ใช้ยาและสารเสพติด ด้วยแบบ V2 หากคัดกรองแล้วคะแนนเกิน 3 ให้ส่งต่อ รพ. โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ เป็นศูนย์คัดกรองอำเภอฯ (รพ.สต.บ้านเจ็ดยอด อำเภอเมือง) เปิดให้บริการ วัน และเวลา ราชการ Stand by นอกเวลาราชการ เมื่อได้รับการแจ้งประสานงานล่วงหน้าจากหน่วยงานอื่น เช่น กรณีปฏิบัติการปิดล้อม ตรวจค้น กรณีพบผู้ต้องสงสัยฯ นอกเวลาราชการ ให้ผู้ต้องสงสัยฯ เซนต์ยินยอม และนัดมาคัดกรองในวันแรกที่เปิดทำการ

16 การบำบัด รพ.สต. ทุกแห่ง ต้องสามารถบำบัดกลุ่มผู้ใช้ ได้ (V2 = 2-3) ปัจจุบันมีความพร้อม 40 รพ.สต. ใน 13 อำเภอ (สสจ.ชม. จะดำเนินการอบรม ประมาณปลายเดือน พ.ย. - ธันวาคม) การบำบัดในค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน ต้องมี จนท.สาธารณสุข (ผู้ชาย) อยู่ดูแลด้านสุขภาพ ตลอด 24 ชม. (ขอความร่วมมือใช้เงินบำรุง) ระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ จะแนบข้อคิดเห็นในการบำบัดมาด้วย นักเรียน/นักศึกษา อายุน้อยกว่า 18 ปี ให้ส่งบำบัดในสถานศึกษา หากสถานศึกษาไม่พร้อม ให้บำบัดใน โรงพยาบาล และลง บสต. นักเรียน/นักศึกษา อายุน้อยกว่า 18 ปี เน้นว่าสถานศึกษาและผู้ปกครอง ต้องรับทราบ

17 13 อำเภอ 40 รพ.สต. สายเหนือ สายกลาง สายใต้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แม่อาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่สามารถบำบัดผู้ป่วยยาเสพติด กลุ่มผู้ใช้ได้ (BA/BI) ฝาง ไชยปราการ เชียงดาว แม่แตง 13 อำเภอ 40 รพ.สต. สันทราย แม่แจ่ม แม่ออน สายเหนือ แม่อาย(2) ฝาง(3) ไชยปราการ(4) เชียงดาว (4) แม่แตง (4) สายกลาง สารภี(3) สันกำแพง(4) แม่ออน(1) สันทราย (3) สายใต้ จอมทอง(4) ฮอด(3) แม่แจ่ม(3) อมก๋อย(2) สารภี สันกำแพง จอมทอง ฮอด อมก๋อย

18 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่สามารถบำบัดผู้ป่วยยาเสพติด กลุ่มผู้ใช้ได้ (BA/BI)
1. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่อาย * 1. รพ.สต.ห้วยป่าซาง 2. รพ.สต.ใหม่ปูแช่ 2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอฝาง 1. รพ.สต.บ้านห้วยไคร้ 2. รพ.สต.บ้านหนองยาว 3. รพ.สต.บ้านท่าหัด 3. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอไชยปราการ 1. รพ.สต.บ้านร้องธาร 2. รพ.สต.บ้านป่าแดง 3. รพ.สต.บ้านปงตำ 4. รพ.สต.บ้านสันติวนา 4. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเชียงดาว 1. รพ.สต.บ้านอรุโณทัย 2. รพ.สต.บ้านปางเฟือง 3. รพ.สต.บ้านนาหวาย 4. รพ.สต.บ้านไตรสกาวคาม 5. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่แตง 1. รพ.สต.บ้านต้นลุง 2. รพ.สต.บ้านแม่ตะมาน 3. รพ.สต.บ้านป่าแป๋ 4. รพ.สต.ปากกว้าง สายเหนือ 5 อำเภอ 17 รพ.สต. * สสอ.ได้รับการอบรม BA/BI

19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่สามารถบำบัดผู้ป่วยยาเสพติด กลุ่มผู้ใช้ได้ (BA/BI)
6. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสารภี* 1. รพ.สต.สันพระเนตร 2. รพ.สต.หนองผึ้ง 3. รพ.สต.ยางเนิ้ง 7. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสันกำแพง 1. รพ.สต.บ้านต้นเปา 2. รพ.สต.บ้านดอยยาว 3. รพ.สต.บ้านร้องวัวแดง 4. รพ.สต.บ้านป่าสักน้อย 8. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่ออน 1. รพ.สต.บ้านแม่ออนกลาง 9. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสันทราย 1. รพ.สต.บ้านป่าก้าง 2. รพ.สต.บ้านท่อ 3. รพ.สต.เจดีย์แม่ครัว สายกลาง 4 อำเภอ 11 รพ.สต. * สสอ.ได้รับการอบรม BA/BI

20 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่สามารถบำบัดผู้ป่วยยาเสพติด กลุ่มผู้ใช้ได้ (BA/BI)
10. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจอมทอง* 1. รพ.สต.บ้านหนองหาย 2. รพ.สต.บ้านเมืองถลาง 3. รพ.สต.บ้านวังน้ำหยาด 4. รพ.สต.บ้านแท่นดอกไม้ 11. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอฮอด* 1.รพ.สต.บ้านกอหนอย 2. รพ.สต.บ้านนาฟ่อน 3. รพ.สต.บ้านแม่โค 12. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่แจ่ม * 1. รพ.สต.บ้านสองธาร 2. รพ.สต.บ้านแม่แสใต้ 3. รพ.สต.บ้านโหล่งปง 13. สำนักงานสาธารณสุขอำเภออมก๋อย 1. รพ.สต.บ้านยางเปียง 2. รพ.สต.บ้านใหม่ สายใต้ 4 อำเภอ 12 รพ.สต. * สสอ.ได้รับการอบรม BA/BI

21 สำนักบริหารการสาธารณสุข
มาตรฐานการจัดบริการด้านยาเสพติด ในสถานบริการระดับต่างๆ บริการ A M1 M2 F1 F2 F3 P ธัญญารักษ์ สวนปรุง ศูนย์วิทย์ฯ 1 2 16 267 การค้นหาผู้เสพ X-Ray การคัดกรอง การบำบัดรักษาฟื้นฟู การติดตามหลังการบำบัด การตรวจคัดกรองทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิสูจน์ยาเสพติดในปัสสาวะในขั้นการยืนยัน การรักษาวิธี Harm reduction สำนักบริหารการสาธารณสุข

22 บทบาทหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE อย่างจริงจังและต่อเนื่อง รณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโทษจากยาเสพติด แก่ประชาชน และเยาวชน สร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันยาเสพติด ในชุมชน สถานประกอบการสถานศึกษา ตามกลไกประชารัฐ ตรวจคัดกรองปัสสาวะเพื่อหาสารเสพติด ในสถานบริการ และนอกสถานบริการ เมื่อได้รับการประสานงานจากหน่วยงานอื่น คัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด โดยใช้แบบคัดกรองผู้ป่วยยาและสารเสพติด กระทรวงสาธารณสุข บคก.สธ. (V2)

23 บทบาทหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บำบัดรักษา ผู้ป่วยยาเสพติด กลุ่มผู้ใช้ (V2 = 2-3 คะแนน) โดย การให้คำแนะนำแบบย่อ (Brief advice) และการบำบัดแบบย่อ (Brief intervention) ติดตาม ผู้ผ่านการบำบัดรักษายาเสพติด ร่วมกับพหุภาคี และส่งต่อ เมื่อผู้ผ่านการบำบัดฯ ต้องการความช่วยเหลือ ดำเนินการลดอันตราย (Harm reduction) ประกอบด้วย การให้ความรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจความตระหนักและประเมินความเสี่ยงของตนเองต่อการป้องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS, Hepatitis B และ C บันทึกข้อมูลการคัดกรอง การบำบัดรักษา การติดตามช่วยเหลือ ผู้ป่วยยาเสพติด ในระบบ บสต.

24 บทบาทหน้าที่ รพ.ชุมชน, รพ.ทั่วไป, รพ.นครพิงค์
ดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE อย่างจริงจังและต่อเนื่อง รณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโทษจากยาเสพติด แก่ประชาชน และเยาวชน สร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันยาเสพติด ในชุมชน สถานประกอบการสถานศึกษา ตามกลไกประชารัฐ ตรวจคัดกรองปัสสาวะเพื่อหาสารเสพติด ในโรงพยาบาล และนอกโรงพยาบาล เมื่อได้รับการประสานงานจากหน่วยงานอื่น

25 บทบาทหน้าที่ รพ.ชุมชน, รพ.ทั่วไป, รพ.นครพิงค์
คัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด แบบคัดกรองฯ บคก.สธ. (V2) แบบคัดกรองและส่งต่อผู้ยินยอมเข้ารับการบําบัดฟื้นฟู (บ.๑๐๘-๒๕๕๗-๔) กรณีมาด้วยเงื่อนไข คสช. 108/2557 ประเมินภาวะการดื่มแอลกอฮอล์ (AUDIT) ประเมินสุขภาพจิต (แบบ 2Q 8Q) ซักประวัติ ตรวจร่างกาย (โรคประจำตัว, โรคติดต่อ, ความพิการ ฯลฯ) บำบัดรักษา (ระบบสมัครใจ และบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว) บำบัดแบบผู้ป่วยนอก / แบบผู้ป่วยใน(เฉพาะ รพศ.) บำบัดได้ทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ใช้, กลุ่มผู้เสพ, กลุ่มผู้ติด บำบัดโดยใช้ BA/BI, MI, CBT, Mod. Matrix Program ร่วมเป็นทีมบำบัด “ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน” การให้คำแนะนำแบบย่อ (Brief advice) การบำบัดแบบย่อ (Brief intervention) การบาบัดรักษา ด้วยการสัมภาษณ์เพื่อเพิ่มแรงจูงใจ (Motivational Interviewing) การบำบัดรักษา ด้วยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy) 

26 บทบาทหน้าที่ รพ.ชุมชน, รพ.ทั่วไป, รพ.นครพิงค์
ติดตาม ผู้ผ่านการบำบัดรักษายาเสพติด ร่วมกับพหุภาคี และส่งต่อ เมื่อผู้ผ่านการบำบัดฯ ต้องการความช่วยเหลือ ดำเนินการลดอันตราย (Harm reduction) ประกอบด้วย การให้ความรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจความตระหนักและประเมินความเสี่ยงของตนเองต่อการป้องกันการติดเชื้อ HIV/AIDS, Hepatitis B และ C จัดระบบบริการปรึกษาและตรวจเลือดหาการติดเชื้อ Hepatitis B และ C, HIV และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยความสมัครใจ จัดบริการ Methadone ตามบริบทปัญหาของพื้นที่ บันทึกข้อมูลการคัดกรอง การบำบัดรักษา การติดตามช่วยเหลือ ผู้ป่วยยาเสพติด ในระบบ บสต.

27 บทบาทหน้าที่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
สนับสนุนการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE อย่างจริงจังและต่อเนื่อง รณรงค์สร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโทษจากยาเสพติด แก่ประชาชน และเยาวชน สนับสนุนการสร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันยาเสพติด ในชุมชน สถานประกอบการสถานศึกษา ตามกลไกประชารัฐ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนกลยุทธ์ ด้านยาเสพติด ระดับอำเภอ ประสานการทำงานด้านยาเสพติด ร่วมกับพหุภาคี ภายในอำเภอ พัฒนาศักยภาพ องค์ความรู้ให้กับบุคลากร ของอำเภอ ดูแล ระบบฐานข้อมูลยาเสพติด (บสต.) ของอำเภอ

28 การรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด)
ลำดับ โรงพยาบาล สถานะปัจจุบัน 1 พร้าว ผ่านการรับรองคุณภาพฯ 2 สันป่าตอง 3 สันกำแพง 4 แม่ออน 5 สะเมิง 6 แม่แตง 7 จอมทอง 8 สันทราย 9 เชียงดาว ได้รับการตรวจเยี่ยมแล้ว 10 หางดง 11 แม่อาย 12 นครพิงค์ ส่งแบบประเมินตนเองแล้ว ลำดับ โรงพยาบาล สถานะปัจจุบัน 13 ฮอด ส่งแบบประเมินตนเองแล้ว 14 เวียงแหง 15 ดอยสะเก็ด 16 ไชยปราการ 17 แม่วาง 18 ดอยเต่า 19 เทพรัตนฯ 20 วัดจันทร์ฯ 21 อมก๋อย หมดอายุ ปี 2559 22 ฝาง 23 สารภี หมดอายุ ปี 2558 24 ดอยหล่อ โรงพยาบาลที่ส่งแบบประเมินตนเองแล้ว หากกรรมการให้แก้ไข เพิ่มเติม ให้เร่งดำเนินการ โรงพยาบาลที่ยังไม่ส่งแบบประเมินตนเอง ให้เร่งดำเนินการจัดทำและส่ง รพ.ธัญญารักษ์ และ สสจ.

29 แนวทางการบันทึก ข้อมูลการบำบัดรักษาและฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติด (บสต.)
แนวทางการบันทึก ข้อมูลการบำบัดรักษาและฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติด (บสต.) ผู้บำบัด MMT ก่อน 1 ต.ค ที่บันทึกในระบบ บสต. เดิม ให้จำหน่าย และบันทึกใน บสต. ใหม่ ผู้อยู่ระหว่างการบำบัดอื่นๆ ก่อน 1 ต.ค ให้ดำเนินการบำบัด ฟื้นฟู ติดตามให้ครบขั้นตอน โดยบันทึกในระบบ บสต.เดิม ผู้ที่เริ่มบำบัด ตั้งแต่ 1 ต.ค ให้ใช้ ระบบ บสต.ใหม่ ระบบสารสนเทศ ของคุมประพฤติ ยังอยู่ในช่วงการทดลองระบบ ให้ โรงพยาบาลดำเนินการบำบัด และเก็บเอกสารไว้ก่อน รอทางคุมประพฤติทำการเชื่อมต่อระบบ บสต. ได้ จึงลงข้อมูลย้อนหลัง

30 ผู้รับผิดชอบการบันทึก บสต.
ขั้นตอน สมัครใจ ค่ายศูนย์ขวัญฯ บังคับบำบัดไม่ควบคุมตัว บังคับบำบัดควบคุมตัว ต้องโทษ คัดกรอง สธ. ศปปส. คุมประพฤติ กรมราชทัณฑ์ กรมพินิจฯ บำบัด ฟื้นฟู (บำบัดครบแล้วส่งกลับคุมประพฤติ) กองบิน 41 กองพันธ์สัตว์ต่าง รพ.ธัญญารักษ์ ติดตาม ช่วยเหลือ ศูนย์ช่วยเหลือ, สธ. ปิดเคส

31 วาระที่ 3 เรื่อง อื่นๆ


ดาวน์โหลด ppt การประชุม Web Conference

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google