การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน: ทิศทางมุมมองของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก Karen Codling Regional Coordinator South East Asia and the Pacific การประชุมเชิงปฏิบัติการ “หมู่บ้านไอโอดีนทั่วไทย เทิดไท้เจ้าฟ้านักโภชนาการ: ก้าวผ่านความท้าทายสู่ความยั่งยืน” 25 มิถุนายน 2558 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร
ปี 2536 110 ประเทศ ขาดสารไอโอดีน รุนแรง ปานกลาง น้อย เพียงพอ ไม่มีข้อมูล Ref: Ref: IGN https://www.youtube.com/watch?v=PmAE2UWEGTE&feature=youtu.be 110 ประเทศ ขาดสารไอโอดีน Ref: IGN
30 ประเทศ ยังคงขาดสารไอโอดีน ปี 2557 Ref: Ref: IGN https://www.youtube.com/watch?v=PmAE2UWEGTE&feature=youtu.be รุนแรง ปานกลาง น้อย เพียงพอ ไม่มีข้อมูล 30 ประเทศ ยังคงขาดสารไอโอดีน Ref: IGN
ครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่เพียงพอ ระดับโลก แยกรายภูมิภาค UNICEF State of the World’s Children 2015 http://data.unicef.org/resources/the-state-of-the-worlds-children-report-2015 http://data.unicef.org/corecode/uploads/document6/uploaded_pdfs/corecode/SOWC_2015_Summary_and_Tables_210.pdf UNICEF SOWC 2015
ครัวเรือนใช้เกลือเสริมไอโอดีนใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก Ref: National surveys such as DHS, MICS, Living Standards, National Nutrition or IDD. Surveys assessing adequately of iodine with a quantitative methodology, such as titration, shown with an asterix *
บทเรียนในการเพิ่มความครอบคลุม เกลือเสริมไอโอดีนและความสำเร็จของ การขจัดโรคขาดสารไอโอดีนอย่างยั่งยืน
ความสำคัญของการมีกฎหมายบังคับใช้ ทำให้ผู้ผลิตมีต้นทุนพอกัน เกิดความเท่าเทียมในการเข้าถึงการเสริมสารอาหาร ผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน สามารถติดตามได้ง่ายกว่าการเสริมสารอาหารแบบสมัครใจ (voluntary fortification) ไม่ต้องอาศัยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค จัดมาตรฐานการเสริมสารอาหารที่เหมาะสม
เหตุผลของกฎหมายแบบบังคับใช้ จากการวิเคราะห์แผนงานเกลือ เสริมไอโอดีน พบว่า ใน 1 ทศวรรษ ประเทศที่มีกฎหมายแบบบังคับใช้ มีการเพิ่มขึ้นของความครอบคลุมครัวเรือนมากกว่า (จาก 49% เป็น 72%) เมื่อเทียบกับ การเพิ่มขึ้นในประเทศที่มีการเสริมสารไอโอดีนแบบสมัครใจ (จาก 40% เป็น 49%) Ref: Horton, Mannar & Wesley. Micronutrient Fortification (Iron and Salt Iodisation) Copenhagen Best Practice Paper 2008
การลดลงของความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีน ที่เพียงพอในเวียดนาม หลังจากสิ้นสุดการมีกฎหมายแบบบังคับใช้ Ref: National IDD Surveys and Multiple Cluster Indicator Survey in 2011
ประเทศมาเลเซีย กฎหมาย 2542 (Legislation 1999) เพนนินซูล่า มาเลเซีย - แบบสมัครใจ ซาราวัก – แบบบังคับ ในบางอำเภอ ซาบาห์ – แบบบังคับ การสำรวจในปี 2553 - ไอโอดีนในปัสสาวะ (UIC) และ ความครอบคลุมเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน (HHIS)
เกลือเสริมไอโอดีนในมาเลเซีย Ref: Selamat et al. Iodine deficiency status and iodised salt consumption in Malaysia: findings from a national iodine deficiency disorders survey. Asia Pac J Clin Nutr. 2010
ความสำคัญของ การบังคับใช้กฎหมาย จุดอ่อนของแผนงานเสริมสารอาหารส่วนใหญ่ การบังคับใช้กฎหมายของการเสริมสารอาหาร ควรบูรณาการเข้ากับระบบควบคุมอาหารตามปกติ อุตสาหกรรม/วิสาหกิจ ต้องเสริมสารอาหาร รัฐบาลต้องสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและเป็นธรรม วิธีที่ดีที่สุด คือ รัฐบาลสามารถสนับสนุนให้เกิดการเสริมสารไอโอดีนในเกลือแบบบังคับ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าทุกวิสาหกิจ ปฏิบัติตามกฎหมาย - สร้างความเท่าเทียมกันในการปฏิบัติ
ความสำคัญของการใช้เกลือเสริมไอโอดีนในอาหารแปรรูปและสัตว์ องค์การอนามัยโลก ให้คำแนะนำในเรื่อง เกลือเสริมไอโอดีน ดังนี้ “เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า (universal salt iodization) คือ การเรียกร้องให้เสริมสารไอโอดีนในเกลือทุกชนิด ตั้งแต่เกลือบริโภคของคนและสัตว์ รวมถึงเกลือในการแปรรูปอาหาร” Ref: WHO. Guideline: Fortification of food-grade salt with iodine for the prevention and control of iodine deficiency disorders, 2014 and WHO, UNICEF, ICCIDD. Assessment of iodine deficiency disorders and monitoring their elimination: A guide for programme managers. Third Edition, 2007 Ref: WHO, 2014 and WHO, UNICEF, ICCIDD, 2007
การใช้เกลือเสริมไอโอดีนในอาหารแปรรูปและสัตว์ ทำไมต้องเป็นเกลือเสริมไอโอดีนในอาหารแปรรูป? เกลือจำนวนหนึ่งที่ผู้บริโภคได้รับ มาจากการเกลือในอาหารแปรรูป ในประเทศพัฒนา สัดส่วนของเกลือผู้บริโภคได้รับ จะมาจากอาหารแปรรูปมากขึ้น ทำไมต้องเป็นเกลือเสริมไอโอดีนสำหรับสัตว์? สัตว์มีปัญหาการขาดสารไอโอดีนได้เช่นกัน การใช้เกลือเสริมไอโอดีนในสัตว์ จะช่วยสร้างเสริมสุขภาพและเพิ่มผลผลิต หากเกลือที่ใช้ในอาหารแปรรูปและอาหารสัตว์ มีการเสริมไอโอดีน จะสามารถทำให้ไม่พบการรั่วไหลของเกลือไม่เสริมไอโอดีนสู่ท้องตลาด
ประมาณการสัดส่วนการบริโภคเกลือในครัวเรือนที่มาจากอาหารแปรรูป องค์การอนามัยโลก: “ในหลายประเทศ ประมาณ 80% ของเกลือในอาหารมาจากอาหารแปรรูป” ประเทศ อาหารแปรรูป สหราชอาณาจักร 77 สหรัฐอเมริกา 75 แอฟริกาใต้ 60 ฟิลิปปินส์ 57 อินโดนีเซีย 46 จีน 45 WHO, 2014: WHO Salt Reduction Fact Sheet No. 393. September 2014. http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs393/en/ UK: Murchu et al. Sodium content of processed foods in the United Kingdom: analysis of 44,000 foods purchased by 21,000 households AJCN 2011. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/?term=Sodium+content+of+processed+foods+in+the+United+Kingdom%3A+analysis+of+44%2C000+foods+purchased+by+21%2C000+households US: American Heart Association. Where is all that salt coming from? http://www.heart.org/HEARTORG/GettingHealthy/NutritionCenter/HealthyEating/Processed-Foods-Where-is-all-that-salt-coming-from_UCM_426950_Article.jsp South Africa: The Health and Stroke Foundation, South Africa. Salt is killing South Africans and it is time to take action. http://www.heartfoundation.co.za/media-releases/salt-killing-south-africans-and-it-time-take-action China: China National Salt Industry Corporation. Investigation Report on the using of Iodized Salt in Chinese Food Processing Industries. Indonesia: Clarity for GAIN. Usage of iodised salt in the processed food industry. Philippines: NCP for GAIN. Survey of Food Processors Utilizing Iodized Salt and Salt Repackers Ref: WHO, 2014 and various country references (see notes)
แหล่งการได้รับโซเดียมในอำเภอแทงอวาย (Thanh Oai) เมืองฮานอย (Hanoi) Ref: National Institute of Nutrition. Investigation of dietary sodium intake and sources in adults, aged 25-64 years. 2010
ความสำคัญของการติดตามและประเมินผลกระทบ ความครอบคลุมในระดับพื้นที่ เพื่อระบุกลุ่มประชากรที่เข้าไม่ถึง สถานการณ์ไอโอดีนในปัสสาวะของกลุ่มต่างๆ เพื่อ ให้มั่นใจว่ามีไอโอดีนเพียงพอในทุกกลุ่มประชากร (เด็กวัยเรียน หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์) สถานการณ์ไอโอดีนในปัสสาวะ เพื่อการปรับปริมาณการเสริมสารไอโอดีน การใช้เกลือเสริมไอโอดีนในอาหารแปรรูป การบริโภคเกลือจากเกลือในครัวเรือนและอาหารแปรรูป
ผลกระทบและความปลอดภัยของเกลือเสริมไอโอดีนในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน: การทบทวนเอกสารอย่างเป็นระบบด้วยการวิเคราะห์อภิมาน 2014 เกลือเสริมไอโอดีนมีผลอย่างมากในการลดความเสี่ยงต่อคอพอก เตี้ยแคระแกรน สติปัญญาด้อย และการขาดสารไอโอดีน การติดตามการดำเนินงานเกลือเสริมไอโอดีนอย่างเข้มแข็ง เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้มั่นใจถึงความปลอดภัยและปริมาณการบริโภคไอโอดีนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศที่มีแผนงานการลดบริโภคเค็มในประชากร
ข้อมูลเพิ่มเติม: Web: http://www.ign.org Twitter: @ign_iccidd Email: kcodling@ign.org