การสนับสนุนการทำวิจัย & เผยแพร่งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ งานส่งเสริมการวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เป้าหมายของคณะศิลปศาสตร์ด้านการวิจัย พ.ศ. 2560-2564 เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ด้านศาสตร์แบบกว้าง (Board Field) เช่น Applied Linguistics ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน เช่น Outcome-based Education and GenEd ด้านผู้นำการขับเคลื่อนทางสังคม (Social Activist) เป็นยอมรับในระดับนานาชาติในด้านศาสตร์เฉพาะทาง (Specific Field) เช่น Text Linguistics ส่งเสริมให้บุคลากรจำนวน 4 ท่านเป็นผู้เขียนเดี่ยวในวารสารที่มีมาตรฐานคุณภาพวิชาการระดับ Q1 มีผลงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของประเทศ มีระบบการบริหารงานวิจัยเพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ
กลไกลสนับสนุนงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์
คิดจะทำวิจัย ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทำวิจัย ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 5,001-500,000 บาท ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 5,000 บาท) ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร เขียนงานวิจัย ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ เผยแพร่งานวิจัย ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ (เฉพาะได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์แล้วเท่านั้น)
กลไกลสนับงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัย
ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ คิดจะทำวิจัย ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 5,001-500,000 บาท ทำวิจัย ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 5,000 บาท) ทุนวิจัยสำหรับอาจารย์ใหม่ (ไม่เกิน 150,000 บาท/ปี) ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร เขียนงานวิจัย ทุนตรวจภาษาอังกฤษ (ครั้งละไม่เกิน 5,000 บาท 2 ครั้ง/ปีงบประมาณ) ทุนตีพิมพ์วารสารระดับนานาชาติ (ไม่เกิน 40,000 บาท/ปีงบประมาณ) ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการในต่างประเทศ เผยแพร่งานวิจัย ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ (เฉพาะได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์แล้วเท่านั้น)
แหล่งทุนวิจัยภายนอก ทุน วช. ทุน สกว. ทุนวิจัยสนับสนุนโดยหน่วยงานของรัฐ ทุนวิจัยสนับสนุนโดยหน่วยงานของเอกชน
การขอทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการต่างประเทศ ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือและใต้ ทวีปออสเตรเลียหรือประเทศนิวซีแลนด์ 50,000 คน/ปี ทวีปเอเชีย 30,000 คน/ปี ขอรับการสนับสนุนจาก สวนพ. ไม่พอ ไม่ได้รับการสนับสนุน ไม่สามารถขอรับการสนับสนุนได้แล้ว ขอค่าลงทะเบียนที่ฝ่ายวิจัย ขอค่าเดินทาง + ค่าที่พักที่หน่วยงานต้นสังกัด ขอค่าลงทะเบียนที่ฝ่ายวิจัย
การเข้าร่วมประชุมวิชาการในประเทศ ในประเทศ (ต่างจังหวัด) และในกรุงเทพ ฯ (ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของหัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัด) ต่างจังหวัด ในกรุงเทพ ฯ ขอค่าเดินทาง + ค่าที่พักหน่วยงานต้นสังกัด และค่าลงทะเบียนที่ฝ่ายวิจัย ขอค่าลงทะเบียนที่หน่วยงานต้นสังกัด หรือ ฝ่ายวิจัย
ประเภทงานวิจัยที่ฝ่ายวิจัยสนับสนุน งานวิจัยที่เน้นเนื้อหาวิชาการ (Publishable academic research) งานวิจัยพัฒนา (Developmental research) งานวิจัยด้านสังคม (Socially active research) งานวิจัยที่ได้ผลผลิต (Product research) )
การเขียนทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ งบประมาณ 5,001-500,000 บาท ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย / ผู้ร่วมโครงการวิจัย ความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัย (Justification for research) ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย ผลที่คาดว่าจะได้รับ งบประมาณ http://arts.kmutt.ac.th/crs/index.php?p=/research/funding_and_ethics
ทุนวิจัยย่อย (งบไม่เกิน 5,000 บาท) ตัวอย่างการเขียนขอทุนวิจัยย่อย (ไม่เกิน 5,000 บาท)
ตัวอย่างการเขียนขอทุนวิจัยย่อย (ไม่เกิน 5,000 บาท)
ทุนวิจัยสนับสนุนโดยคณะศิลปศาสตร์ ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 5,001-500,000 บาท ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 5,000 บาท) ทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท-เอก ไม่เกิน 20,000 บาท ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษา ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ
การเผยแพร่งานวิจัย การประชุมวิชาการ (Conference) ระดับชาติ ระดับนานาชาติ การตีพิมพ์ในวารสาร (Journal Publication)
การพิจารณาคุณภาพวารสารเพื่อตีพิมพ์
ฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Academic Search Premier (http://www.ebsco.com/home) (select ebscohost and then academic search premier) Agricola (http://agricola.nal.usda.gov) BIOSIS (http://www.biosis.org) CINAHL (http://www.ebscohost.com/academic/cinahl-plus-with-full-text) EiCOMPENDEX (http://www.ei.org) ERIC (http://www.eric.ed.gov/) H.W.Wilson (http://www.ebscohost.com) (select ebscohost and then H.W.Wilson) Infotrieve (http://www.infotrieve.com) Ingenta Connect (http://www.ingentaconnect.com) INSPEC (http://www.theiet.org/publishing/inspec) MathSciNet (http://www.ams.org/mathscinet) MEDLINE/Pubmed (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/) PsycINFO (http://www.apa.org/pubs/databases/psycinfo/index.aspx) Pubmed (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/) ScienceDirect (http://www.sciencedirect.com) SciFinder (https://scifinder.cas.org/) Scopus (http://www.info.scopus.com) Social Science Research Network (http://papers.ssrn.com/sol3/DisplayAbstractSearch.cfm) Web of Knowledge (http://wokinfo.com)
ฐานข้อมูลนานาชาติที่สำคัญ Web of Science (WOS) : เป็นฐานข้อมูลในกลุ่ม ISI Web of Knowledge ของบริษัท Thomson Reuters เป็นฐานข้อมูลทางการค้าที่ต้อง บอกรับเป็นสมาชิก http://isiknowledge.com/WOS Journal Citation Reports (JCR) : เป็นฐานข้อมูลในกลุ่ม ISI Web of Knowledge ของบริษัท Thomson Reuters ต้องบอกรับเป็นสมาชิก http://isiknowledge.com/JCR Scopus : ของบริษัท Elsevier เป็นฐานข้อมูลทางการค้าที่ต้องบอกรับเป็นสมาชิก ครอบคลุมวารสาร 18,000 ชื่อ ตั้งแต่ปี 1960-ปัจจุบัน http://www.scopus.com Scimago Journal & Country Rank : ของ Scimago Lab เป็นฐานข้อมูลให้บริการฟรีที่ http://www.scimagojr.com Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf
Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf
Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf
Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf
Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf
ฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ฐานข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index -- TCI) เฉพาะวารสารที่มีชื่ออยู่ในกลุ่มที่ ๑ และกลุ่มที่ ๒ (http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php) ตรวจสอบค่า IF ได้ที่ (http://www.kmutt.ac.th/jif/Impact/impact_h.php)
คุณภาพวารสารตามเกณฑ์ของ TCI
ค่าตอบแทนสำหรับการเผยแพร่งานวิจัย แบบที่ 1 พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ในการวัดผลการดำเนินงานหลัก (KPI) ด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณะฯ 4 ข้อ ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 3 ข้อเกี่ยวเนื่องกับบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ และตัวชี้วัดอีกหนึ่งข้อเป็นบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุมนานาชาติและในวารสารระดับชาติ การจ่ายค่าตอบแทนแบบที่ 1 คิดตามน้ำหนักที่ได้และสัดส่วนในการทำงานของบุคลากรในผลงานแต่ละเรื่อง โดยใช้เงิน 60% ของจำนวนเงิน FTERO 40% ที่คณะศิลปศาสตร์ได้รับ
ค่าตอบแทนสำหรับเผยแพร่งานวิจัย แบบที่ 2 พิจารณาจากการพัฒนาผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ของบุคลากร โดยบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ทุกคนจะได้รับเกรดตามผลงาน ดังนี้ 0 ไม่เคยได้รับการตีพิมพ์ 1 บทความได้รับการตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุมระดับชาติหรือในสิ่งพิมพ์ระดับชาติที่ไม่มี คณะกรรมการพิจารณาบทความ 2 บทความได้รับการตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ระดับนานาชาติที่ไม่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ
ค่าตอบแทนสำหรับการเผยแพร่งานวิจัย 3 บทความได้รับการตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุมระดับนานาชาติหรือในวารสารระดับชาติที่ มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ 4 บทความได้รับการตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ระดับนานาชาติที่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ 5 บทความได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความที่ได้รับการอ้างอิง การจ่ายค่าตอบแทนแบบที่ 2 คิดตามจำนวนบุคลากรที่มีการพัฒนาผลงานเพื่อตีพิมพ์จากปีก่อนๆ โดยใช้เงิน 20% ของจำนวนเงิน FTERO 40% ที่คณะศิลปศาสตร์ได้รับ
ค่าตอบแทนสำหรับการเผยแพร่งานวิจัย แบบที่ 3 การจ่ายค่าตอบแทนแบบที่ 3 คิดตามจำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งหมดของบุคลากรในแต่ละปี ตามสัดส่วนการทำงานของบุคลากรในแต่ละผลงาน โดยใช้เงิน 20% ของจำนวนเงิน FTERO 40% ที่คณะ ศิลปศาสตร์ได้รับ
แหล่งค้นหา Conference https://www.facebook.com/Total-Conference-382063761819021/
แหล่งค้นหา Conference Insight SoLA