เรื่องของอาเซียน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำทักทาย ประจำชาติอาเซียน
Advertisements

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ประชาคมอาเซียน กับการพัฒนาการศึกษา
Explaining ASEAN REGIONALISM IN SOUTHEAST ASIA
บทบาทของอาจารย์ 9 มทร.กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ปราณีต ศรีศักดา อดีต ผอ.สคบศ กศ.บ.วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก
อาเซียน: กศน. กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ใน ปี 2558
รู้เรื่องอาเซี่ยนมากน้อยเพียงใด
ประชาคมอาเซียน.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. เปมิกา เปสลาพันธ์ ม.1/16 เลขที่ 36
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ทิศทางและกลยุทธ์ของการอุดมศึกษาไทย เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
ชื่อ เด็กหญิง สุนิสา อาสากิจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 เลขที่45
ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
ข้อมูลพื้นฐานและบทบาทของประเทศสมาชิกอาเซียน
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องประชาคมอาเซียน
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
ประชาคมอาเซียน ( AEC ) สวัสดีอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ชัยเมศร์ อมรพลสมบูรณ์
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
สุขสันต์วันครบรอบคริสตจักร 19 ปี คริสตจักรเรมากรุงเทพฯ
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
GATT & WTO.
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
1. เลียนแบบชีวิตตาม องค์พระเยซูคริสต์
มองรัฐและอุตสาหกรรมไทยผ่านกรอบ Ha-Joon Chang
Tourism Industry Vs Retail Business in Thailand Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand January 13, 2019.
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
6 ทศวรรษ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ*
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
คำเทศนาชุด: ท่านมีของประทาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
ที่มาและหน่วยงานกาชาดต่างๆ
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
การทรงสร้างและการล้มลง
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ นักศึกษาแพทย์ศิริราช
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
รายวิชาเพิ่มเติม อาเซียนศึกษา
11/17/2010.
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องของอาเซียน

ASEAN Association of South East Asian Nations สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ASEAN Community ประชาคมอาเซียน ในฐานะที่เราเป็นประเทศสมาชิกของอาเซียน จึงต้องศึกษาเรื่องของอาเซียนให้เข้าใจ เพื่อจะได้ปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง

www.themegallery.com

ก่อนที่จะเป็นอาเซียน  ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วย 11 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เมียนมาร์ กัมพูชา เวียดนาม บรูไน และติมอร์ - เลสเต  Southeast Asia Treaty Organization (SEATO) ค.ศ.1955 - 1977  ค.ศ. 1961 ประเทศไทย ฟิลิปปินส์ และมาลายาร่วมกันก่อตั้งสมาคม ชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกชื่อภาษาอังกฤษว่า Association of Southeast Asia หรือ ASA (อาสา)  ค.ศ. 1963 มาลายา , ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซียรวมกันตั้งเป็น สมาคมใหม่ เรียกตามชื่อประเทศ Malaya + Philippines + Indonesia รวมกันว่า “Maphilindo”

ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 11 ประเทศ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 11 ประเทศ

รูปผู้นำของชาติสมาชิกซีโต้ ด้านหน้าอาคารรัฐสภาหลังเก่าในกรุงมะนิลา SEATO “Southeast Asia Treaty Organization” หรือ “องค์การสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” เรียกชื่อย่อว่า “SEATO”เกิดขึ้นจากการรวมตัวของสหรัฐอเมริกา , อังกฤษ , ฝรั่งเศส , ออสเตรเลีย , นิวซีแลนด์ , ปากีสถาน , ฟิลิปปินส์และราชอาณาจักรไทย ด้วยความหวั่นเกรงภัยคุกคามจากประเทศที่พยายามเผยแพร่ลัทธิทางการเมืองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ นั่นคือ ภัยจากจีนและสหภาพ โซเวียต (รัสเซีย) รูปผู้นำของชาติสมาชิกซีโต้ ด้านหน้าอาคารรัฐสภาหลังเก่าในกรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1966

จุดกำเนิดอาเซียน บ้านพักที่แหลมแท่น บางแสน พลังจิตวิญญาณแห่งบางแสน บ้านพักที่แหลมแท่น บางแสน พลังจิตวิญญาณแห่งบางแสน เดิมใช้ชื่อสมาคมความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์เน้นความร่วมมือทางเศรษฐกิจมากกว่าการเมือง วันอังคารที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ลงนาม ณ วังสราญรมย์ ชื่อว่า ASEAN อ่านว่า อาเซียน สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เสริมรากฐานการเป็นประชาคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

จุดเริ่มต้นอาเซียน สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม ค.ศ.1967 (พ.ศ. 2510) 9

ปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการก่อตั้ง “อาเซียน” ปัจจัยภายนอก แนวคิดร่วมกันในการต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยม และมุ่งเน้นนโยบายต่างประเทศที่เป็นอิสระ ความแพร่หลายของแนวคิดภูมิภาคนิยม ปัญหาของการรวมตัวที่มีอยู่เดิมและการพยายามแก้ปัญหาความขัดแย้งในปัจจุบัน

(ศักยภาพผลักดันภายในของสมาชิกแต่ละประเทศ) ปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการก่อตั้ง “อาเซียน” ปัจจัยภายใน (ศักยภาพผลักดันภายในของสมาชิกแต่ละประเทศ) อินโดนีเซีย - การเปลี่ยนแปลงผู้นำอินโดนีเซีย - ต้องการมีนโยบายต่างประเทศที่เป็นผู้นำของภูมิภาค - สภาวะทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ

ปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการก่อตั้ง “อาเซียน” ไทย - เสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ โดยไม่ต้องพึ่งพิงมหาอำนาจตะวันตก - ตระหนักถึงประโยชน์ของความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคว่าจะมีประโยชน์ในอนาคต ฟิลิปปินส์ - ต้องการแสดงว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาค - ผลประโยชน์ด้านการเมืองและเศรษฐกิจในระยะยาว

ปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการก่อตั้ง “อาเซียน” สิงคโปร์ - ผลประโยชน์ด้านการเมืองและความมั่นคง - ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ มาเลเซีย - ต้องการแก้ไขความขัดแย้งกับประเทศสมาชิก - ผลประโยชน์ด้านการเมืองและเศรษฐกิจ

วัตถุประสงค์การก่อตั้งอาเซียน (ปฏิญญากรุงเทพฯ) เร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม และวัฒนธรรม ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร อำนวยความสะดวกในด้านการฝึกอบรมและวิจัย ด้านการศึกษาวิชาชีพ วิชาการ และการบริหาร ร่วมมือด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ส่งเสริมการศึกษา ร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศส่วนภูมิภาค 14 14

เป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน เป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน 1. เสริมสร้างสันติสุข ด้วยการแก้ไขข้อพิพาทภายในภูมิภาค และการรับมือภัยคุกคามรูปแบบใหม่

เป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน เป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน 2. เสริมสร้างความมั่งคั่งในภูมิภาค การส่งเสริมให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางสังคม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือแรงงาน

เป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน เป้าหมายสร้างความร่วมมือ 3 ส่วน 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและเสริมสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอาเซียน โดยกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาพลเมืองอาเซียนให้มีคุณลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีศักยภาพในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมและนวัตกรรมต่าง ๆ และได้รับโอกาสที่ทัดเทียมกัน ในการเข้าถึงการพัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม และความยุติธรรม

ประเทศสมาชิกอาเซียน อาเซียนเริ่มต้นด้วยสมาชิกห้าประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมามีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นอีกห้าประเทศ ได้แก่ ลำดับที่ 6 บรูไนดารุสซาลาม วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2527 ลำดับที่ 7 เวียดนาม วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ลำดับที่ 8 , 9 สปป. ลาว และเมียนมา วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ลำดับที่ 10 กัมพูชา วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542

ผู้แทนที่ร่วมลงนามในปฏิญญาอาเซียน นายอาดัม มาลิก จากอินโดนีเซีย รัฐมนตรีฝ่ายการเมือง / รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นายตุน อับดุล ราซัค บิน ฮุสเซน จากมาเลเซีย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ นายนาซิสโซ รามอส จากฟิลิปปินส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นายเอส. ราชารัตนัม จากสิงคโปร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ จากไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

หลักการพื้นฐานของอาเซียน การตัดสินใจโดยหลักฉันทามติ การไม่แทรกแซงกิจการภายใน ของกันและกัน ความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ความร่วมมือ เพื่อพัฒนาอาเซียน

ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน รวงข้าว แสดงถึง ความฝันของกลุ่มผู้ก่อตั้งอาเซียน รวงข้าวสีเหลือง 10 รวงมัดรวมกัน หมายถึง ประเทศที่รวมตัวกัน 10 ประเทศ เพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน พื้นที่วงกลมสีขาว สีแดง และสีน้ำเงิน หมายถึง ความเป็นเอกภาพของอาเซียน ตัวอักษรคำว่า asean สีน้ำเงินอยู่ใต้รวงข้าว หมายถึง ความมุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกัน

ธงอาเซียน สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า เป็นสิ่งที่แสดงถึงความมั่นคง สันติภาพ ความเป็นเอกภาพ และพลวัตของอาเซียน สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง ขาว ความบริสุทธิ์

คำขวัญ "One Vision , One Identity , One Community (หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)

เพลงประจำชาติอาเซียน The ASEAN Way คำแปล Raise our flag high, sky high. Embrace the pride in our heart. ASEAN we are bonded as one. Look 'in out to the world. For peace our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream, We care to share. Together for ASEAN. We dare to dream, We care to share For it's the way of ASEAN. ชูธงเราให้สูงสุดฟ้า โอบเอาความภาคภูมิไว้ในใจเรา อาเซียนเราผูกพันเป็นหนึ่ง มองมุ่งไปยังโลกกว้าง สันติภาพ คือ เป้าหมายแรกเริ่ม ความเจริญ คือ ปลายทางสุดท้าย เรากล้าฝัน และใส่ใจต่อการแบ่งปัน ร่วมกันเพื่ออาเซียน เรากล้าฝัน และใส่ใจต่อการแบ่งปัน นี่คือวิถีอาเซียน

เพลงประจำชาติอาเซียน (ต่อ) วิถีแห่งอาเซียน พลิ้วลู่ลม โบกสะบัด ใต้หมู่ธงปลิวไสว สัญญาณแห่งสัญญาทางใจ วันที่เรามาพบกัน อาเซียนเป็นหนึ่งดังที่ใจเราปรารถนา เราพร้อมเดินหน้าไปทางนั้น หล่อหลอมจิตใจ ให้เป็นหนึ่งเดียว อาเซียนยึดเหนี่ยวสัมพันธ์ ให้สังคมนี้ มีแต่แบ่งปัน เศรษฐกิจมั่นคงก้าวไกล เนื้อร้องของเพลงสะท้อนความเป็นหนึ่งเดียวของอาเซียนและความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม และเชื้อชาติ

ปฏิญญาบาหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) มีเป้าหมายไปสู่การรวมตัวของอาเซียนในลักษณะการเป็นชุมชนหรือประชาคมเดียวกันให้สำเร็จภายในปี 2563 ต่อมาในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม 2550 ที่เมืองเซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผู้นำประเทศอาเซียนตกลงที่จะเร่งรัดกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน ให้แล้วเสร็จภายในปี 2558

“วิสัยทัศน์อาเซียน 2020” ปี 2540 ผู้นำอาเซียนให้การรับรอง “วิสัยทัศน์อาเซียน 2020” (ASEAN Vision 2020) เป็น ประชาคมอาเซียนภายในปี 2020 ที่มีสำนึกในความเชื่อมโยงในประวัติศาสตร์ของตน รับรู้อยู่ตลอดเวลาในมรดกทางวัฒนธรรมของตน และผูกพันด้วยอัตลักษณ์ร่วมกันในภูมิภาค (Common Regional Identity) เป็นสังคมอาเซียนที่เปิดกว้างแต่คงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ประจำตัว (national identity) ผู้คนทุกหมู่เหล่ามีความเท่าเทียมกันมีโอกาสในการพัฒนา ความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน (human development) ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเพศ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม เป็นสังคมที่ผนึกแน่น สามัคคีและเอื้ออาทรต่อกัน ใส่ใจในสิ่งแวดล้อม เพื่อทรัพยากรที่ยั่งยืน

เป้าหมาย ASEAN Vision 2020 วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ A Concert of Southeast Asian Nations หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต A Partnership in Dynamic Development ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน A Community of Caring and Sharing Societies มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก An Outward-Looking ASEAN

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน กรอบกฎหมาย โครงสร้างองค์กร เป้าหมาย หลักการ และกลไกสำคัญต่าง ๆ จัดทำขึ้นที่สิงคโปร์ วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เป็นสนธิสัญญาที่ทำร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกของอาเซียน บทบัญญัติ 13 หมวด รวม 55 ข้อย่อย

กฎบัตรอาเซียน หมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลักการ หมวดที่ 1 ความมุ่งประสงค์และหลักการ หมวดที่ 2 สภาพบุคคลตามกฎหมาย หมวดที่ 3 สมาชิกภาพ หมวดที่ 4 องค์กร หมวดที่ 5 องคภาวะที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน หมวดที่ 6 ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ หมวดที่ 7 การตัดสินใจ

กฎบัตรอาเซียน (ต่อ) หมวดที่ 8 การระงับข้อพิพาท หมวดที่ 9 งบประมาณและการเงิน หมวดที่ 10 การบริหารและขั้นตอนการดำเนินงาน หมวดที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ หมวดที่ 12 ความสัมพันธ์ภายนอก หมวดที่ 13 บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย