งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10

2 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมา จากความคิดของสมาชิกภายในกลุ่ม เมื่อมีประชาคมอาเซียน เข้ามาในประเทศไทยต้องมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตเป็นอย่าง แน่นอน สมาชิกในกลุ่มจึงอย่างรู้ว่าเปลี่ยนแปลงเช่นไร และมีวิธีการเตรียม รับมือกับประชาคมอาเซียนอย่างไร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อประชาคมอาเซียน เข้าสู่ประเทศไทย 2. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับประชาคมอาเซียน ขอบเขต สถานที่ : โรงเรียนเดชอุดม ระยะเวลา : ใช้เวลาดำเนินการทั้งสิ้น ประมาณ 1 เดือน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับประชมคมอาเซียน 2. ไว้เป็นแนวทางการศึกษาของประชาชนทั่วไป

3 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเรื่อง การดำเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียน กลุ่มผู้จัดทำได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ จาก เอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ประวัติโดยสังเขป AEC เป็นการพัฒนามาจากการเป็น สมาคม ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผู้ก่อตั้งแรกเริ่ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็น สมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้า ร่วมเป็นสมาชิกลำดับที่ 10 ทำให้ปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มเศรษฐกิจ ภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคนจากนั้นในการ ประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต. ค. 2546 ผู้นำ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ 1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC) 2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Socio-Cultural Pillar) 3. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (Political and Security Pillar) คำขวัญของอาเซียน คือ “One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม

4 บทที่ 3 วิธีศึกษาค้นคว้า ประชาการกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ปกครองของนักเรียนชั้น ม. 2/10 โรงเรียนเดชอุดม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่ง เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนแนวคิดทฤษฎี และผล งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้วนามาปรับปรุงใช้ให้เหมาะสมกับการ ศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้แบ่งเนื้อหาของคำถามออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามเช่น เพศ อายุ ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การเตรียมตัวรับมือ กับประชาคมอาเซียน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา 2. นำมารวบรวมข้อมูล 3. ตรวจสอบข้อมูล 4. วิเคราะห์ข้อมูล 5. เรียบเรียงและเสนอ

5 บทที่ 4 ผลการทดลอง ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตของคนไทย เมื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน เมื่อได้ข้อมูลที่แน่นอนแล้วนำข้อมูลมาทำเป็น แบบสอบถาม โดยแบบสอบถามจำนวน 30 ชุดนี้ เราจะให้กับผู้ปกครอง ของนักเรียนชั้น ม. 2/10 โรงเรียนเดชอุดม จำนวน 30 คน เป็นผู้ตอบ แบบสอบถาม หลังจากนั้นก็นำข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้มานั้นมาหา ค่าเฉลี่ย

6 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง สรุปผลการประเมิน จากตารางได้ข้อสรุปว่าประชาชนส่วนใหญ่นั่น ส่วนใหญ่พึง พอใจกับการที่ประชาคมอาเซียนเข้ามาสู่ประเทศไทย โดยเฉพาะในข้อ ประชาคมอาเซียนมีประโยชน์ต่อประเทศไทยมากแค่ไหน ด้านการศึกษาจะ ดีขึ้นมากแค่ไหน ด้านเศรษฐกิจในประเทศจะดีขึ้นมากแค่ไหน ส่งผลต่อ การคมนาคมภายในประเทศมากแค่ไหน ปัญหาการว่างงานเยอะขึ้นมากแค่ ไหน เป็นข้อที่ประชาชนส่วนใหญ่ให้ข้อสรุปไว้ว่า “ มาก ” นอกจากนั่นหัวข้อ สภาพสังคมจะดีขึ้นกว่าเดิม ความพึงพอใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน การดำเนินชีวิตประจำวันจะสะดวกสบาย กว่าเดิม อนาคตของอาเซียนจะพัฒนามากแค่ไหน เป็นหัวข้อที่ประชาชน 30 คนให้ข้อสรุปไว้ว่า “ ปานกลาง ”


ดาวน์โหลด ppt ผู้วิจัย เด็กชาย เทพฤทธิ์ มาลา ดาษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10 เลขที่ 10.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google