ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Quality Development with Outcome Research
Advertisements

ธาตุเหล็กกับการเรียนรู้ ผลกระทบต่อ คุณภาพเด็กไทย
การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.
Doctor’s Orders. Take up to start doing a particular job or activity. Take up เริ่มต้นดำเนินการ.
DPAC Module 6 Risk Management & Refer
การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
Thongchai Pratipanawatr
การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง
The prevention of progression of arterial disease and diabetes (POPADAD) trial: factorial randomised placebo controlled trial of aspirin and antioxidants.
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
ANSI/ASQ Z1.4 Acceptance Sampling Plans
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 Grammar & Reading ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
LOGO NLiS-TH Nutrition Landscape Information System Thailand
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
Achieving equity for every children in Thailand
The Brief (global) History of the Un-sustainabilities
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
การแก้ไขปัญหา ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
Clinical Correlation Cardiovascular system
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: อาหารที่ดีที่สุดสำหรับสมองของลูก
ทบทวนสถิติสำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ทำอย่างไรให้แม่และเด็กไทยสุขภาพดี พร้อมเรียนรู้
ชีวิตประจำวัน สู่ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรก ของชีวิต
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
Burden of disease measurement
นมแม่ในทารกป่วย Breastfeeding Sick Babies
โครงการพัฒนาทีมจัดการระบบ การจัดการโรคเรื้อรัง ในระดับจังหวัดปี 2554
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
เรื่องราวของวันคริสต์มาส
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
กอบกู้วิกฤตการศึกษาไทย ความหวังการสร้างชาติที่ยั่งยืน
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
การใช้สารช่วยยืดอายุสับปะรดพันธุ์ห้วยมุ่นตัดแต่งพร้อมบริโภค
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
อ.จงกล โพธิ์แดง ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล 2559
Comprehensive School Safety
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
(การสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ)
2 Mahosot Hospital, Vientiane, Lao PDR
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
อัตถิภาวนิยม existentialism J.K. Stevens, instructor
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ....
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
เป้าหมายโภชนาการระดับโลก พ.ศ.2568 (WHA Global Nutrition Targets 2025)
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
นโยบายการศึกษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 เมษายน 2559.
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
ORGANIC TOURISM.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย รศ. พ.ญ. ลัดดา เหมาะสุวรรณ 2 ธันวาคม 2556

Biology and genetic endowment

Early life factors สัมพันธ์กับความเสี่ยงการเกิดโรคในวัยต้อมา dietary factors, microbial diversity, lifestyle, stress, exercise, maternal smoking สัมพันธ์กับความเสี่ยงการเกิดโรคในวัยต้อมา โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคภูมิแพ้ โรคทางจิต, การทำงานของสมอง โรคอื่นๆ David Barker ลัดดา เหมาะสุวรรณ

Interactions between metabolic load and metabolic capacity. ความเสี่ยงต่อเบาหวาน โรคหัวใจ Stroke ความดันสูง Metabolic load: อ้วน นน.ขึ้นมากในวัยเด็ก กินอาหารที่มี glycemic index สูง ไม่เคลื่อนไหวร่างกาย Metabolic capacity นน.แรกเกิด มวลเซลล์ตับอ่อน (beta cell) จำนวน nephron โครงสร้างหัวใจ Wells JCK. Am J Hum Biol 2011

MICS4 (2013)

รายงานภาวะโภชนาการ MICS

สาเหตุที่ขัดขวางไม่ให้เด็กมีพัฒนาการเต็มศักยภาพ ทั่วโลกมีเด็กปฐมวัย 200 ล้านคน ที่ไม่สามารถพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์ได้เต็มศักยภาพ ด้วยสาเหตุปัจจัยที่ป้องกันได้ 4 ประการ ภาวะทุพโภชนาการ ->เตี้ยกว่าเกณฑ์ การขาดธาตุไอโอดีน โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก การขาดการเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่กระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม (Richard Jolly. Lancet 2007) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น (Walker et al. Lancet 2011) ปัจจัยเสี่ยง: การเติบโตต่ำในครรภ์แม่ ติดเชื้อมาลาเรีย สัมผัสตะกั่ว ติดเชื้อ HIV แม่ซึมเศร้า เด็กในสถานเลี้ยงเด็ก ความรุนแรง ปัจจัยป้องกัน: ได้รับนมแม่ ระดับการศึกษาของแม่ ลัดดา เหมาะสุวรรณ

ผลของการขาดสารอาหารในช่วงแรกของชีวิตต่อสติปัญญา เด็กที่เตี้ยแคระแกร็นรุนแรงใน 2 ปีแรกได้คะแนนไอคิวที่อายุ 8-10 ปีต่ำกว่าเด็กที่ความยาวปกติ 3-10 จุด เด็กที่ได้อาหารพลังงานและโปรตีนสูงจากแรกเกิดถึง 2 ปี มี ไอคิวที่อายุ ~30 ปี สูงกว่ากลุ่มที่ได้อาหารพลังงานต่ำและไม่มีโปรตีน 1.74 จุด การแก้ปัญหาขาดสารอาหารต้องทำก่อน 3 ปีจึงจะได้ผลดีต่อการเติบโต ลัดดา เหมาะสุวรรณ

The Lancet Maternal and Child Nutrition Series, 2013

Effect of interventions on stunting Relative reduction of stunting at 12 mo 24 mo 36 mo Balanced energy protein suppl 1.9% 0.5% 0.3% Multiple micronutr to preg women 0.9% 0.3% 0.1% Promote complementary feeding19.8% 17.2% 15.0% Zinc supplementation 9.1% 15.5% 17.0% General nutrition interventions 21.7% 17.8% 15.5% Micronutrient interventions 10.3% 15.9% 17.4% Disease control interventions 3.7% 2.9% 2.7% Bhutta ZA, et al. What works? Interventions for maternal and child undernutrition and survival Lancet 2008; 371: 417–40. L Mo-suwan

ผลของอาหารและโภชนาการต่อไอคิวและการทำงานของสมอง เด็กที่ขาดสารไอโอดีนเรื้อรัง คะแนนไอคิวหายไป 12-13.5 จุด ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในทารกและปฐมวัยอาจทำให้ไอคิวลดได้ 5 - 10 จุด ในเด็กโตลด 0.4 จุด อ่อนเพลีย ซึม ไม่มีสมาธิและความจำไม่ดี ไม่กินอาหารมื้อเช้า - คิดคำนวณ ความจำระยะสั้น ความสามารถในการอ่าน ความสามารถในการแก้ปัญหาลดลง สมรรถภาพทางกายลดลง ลัดดา เหมาะสุวรรณ

Controlled studies in pregnant women Papua New Guinea study: reduced cretin rate 73% at 4 yr and 83% at 10 yr of age Zaire, China, Peru and Ecuador trials: developmental/IQ scores were 10–15 points higher in young or school-age children born to mothers treated in early pregnancy or before. Zimmermann MB. Endocr Rev 2009; 30: 376–408. L Mo-suwan

การเสริมอาหารในหญิงมีครรภ์ เพิ่มอาหารที่มีพลังงานสมดุลและโปรตีน (Balanced energy and protein supplement) ลดความเสี่ยงเกิด SGA 34%, LBW 32% เสริมธาตุเหล็กลดซีดที่แรกเกิดได้ 73% โฟลิก 400 มคก.ต่อวัน (ให้ก่อน conception ป้องกัน neural tube defect) แคลเซียมป้องกัน pre-eclampsia ควรให้ในหญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยงมีความดันเลือดสูงและได้แคลเซียมจากอาหารต่ำ ลัดดา เหมาะสุวรรณ

MDG The United Nations Millennium Development Goals are eight goals that all 191 UN member states have agreed to try to achieve by the year 2015. Eradicate extreme poverty and hunger: underweight prevalence Achieve universal primary education; Promote gender equality and empower women; Reduce child mortality: under-five mortality rate (U5MR) Improve maternal health: maternal mortality ratio, lifetime risk of maternal death Combat HIV/AIDS, malaria, and other diseases: % under-fives sleeping under an insecticide-treated net , % under-fives with fever receiving antimalarial drugs Ensure environmental sustainability: use of improved sources of drinking water , use of improved sanitation facilities Develop a global partnership for development.

Global nutrition targets for 2025, endorsed by the World Health Assembly 40% reduction of the global number of children younger than 5 years who are stunted 50% reduction of anaemia in women of reproductive age 30% reduction of low birthweight No increase in childhood overweight Increase the rate of exclusive breastfeeding in the first 6 months to at least 50% Reduce and maintain childhood wasting to less than 5%