คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอเมืองเชียงใหม่ ยินดีต้อนรับ ทีมนิเทศงานสาธารณสุข ระดับจังหวัด
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน บริบทอำเภอเมือง วัดเกต ป่าตัน ศรีภูมิ พระสิงห์ ช้างม่อย หายยา นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 9 ตำบล 78 หมู่บ้าน ประชากร 101,570 คน สันผีเสื้อ ช้างเผือก ฟ้าฮ่าม ช้างเผือก สุเทพ สุเทพ หนองป่าครั่ง ท่าศาลา ช้างคลาน นอกจากนี้ยังมีประชากรแฝงและแรงงานต่างด้าว ป่าแดด หนองหอย แม่เหียะ ป่าแดด นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่
สถานบริการสาธารณสุขอำเภอเมือง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 8 แห่ง ขนาด L 2 แห่ง (รพ.สต.ศรีบุญเรือง-ท่าข้าม) ขนาด M 6 แห่ง PCC : PCC ฟ้าฮ่าม โดยมีเครือข่าย 4 รพสต. คือ ป่าข่อยเหนือ ท่าหลุก ศรีบัวเงิน หนองหอย รับการสนับสนุนจากรพ.นครพิงค์
ประเด็นปัญหาสุขภาพอำเภอเมือง การดูแลผู้สูงอายุ ยาเสพติด ไข้เลือดออก อาหารปลอดภัย เด็กอ้วน พัฒนาการเด็ก ท้องไม่พร้อม เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัดเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงาน ประจำปี 2561 RB1 ปฐมวัย แม่และเด็ก RB2 วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน RB3 ผู้สูง อายุ/ ผู้พิการ RB4 โรคไม่ติดต่อ RB5 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/อวล. RB6 คบ/เภสัช RB7 ยาเสพติด RB8 แพทย์แผนไทย ภาคปชช. RB9 DHS HA ปฐมภูมิ RB10 บริหาร เงิน/คน/กม./ IT แผนงาน 1 พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย แผนงาน 3 ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงาน 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ แผนงาน 2 พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ แผนงาน 10 บริหารจัดการกำลังคน - มารดาตาย - เด็ก0 – 5 ปีพัฒนาการสมวัย - เด็ก0 - 5 ปีสูงสมส่วน - เด็ก 0 – 12 ปี ฟันไม่ผุ - ร้อยละวัยทำงาน 30-44 ปีค่าดัชนีมวลกายปกติ - การคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี - ผู้สูงอายุ ECS/EOC จังหวัด - อ.เสียชีวิตจากการบาดเจ็บ ทางถนน - ไข้เลือดออก - RDU - ยาเสพติด - สมุนไพร - การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ - พชอ. - Happy MOPH แผนงาน 5 การพัฒนาะบบการแพทย์ ปฐมภูมิ แผนงาน 4 บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม แผนงาน 11 ธรรมาภิบาล - Green & CLEAN Hospital - PCC การควบคุมภายใน แผนงาน 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ - ความดัน/เบาหวาน CKD, ตาต้อกระจก - มะเร็ง - อ.หลอดเลือดมอง - อ.โรคหลอดเลือดหัวใจ - อ. ตายทารกแรกเกิด - อ.ฆ่าตัวตายสำเร็จ แผนงาน 11 องค์กรคุณภาพ แผนงานพัฒนาระบบข้อมูล แผนงาน 3 ป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ รพ.สต.ติดดาว - IT - จมน้ำ เด็กอายุ <15 ปี แผนงาน บริหารจัดการการเงินฯ แผนงาน 8 โครงการเฉลิมพระเกียรติ - การเงินการคลัง - วัณโรคปอด
แผนปฏิบัติราชการ อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2561 ลำดับ แผนงาน/ชื่อโครงการ จำนวนงบประมาณ (บาท) แผนงานที่ 3 : การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 1 1. โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ - แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 2 โครงการคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมพื้นที่เสี่ยง hot zone 68,000 แผนงานที่ 8 : การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ 3 โครงการการพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ 18,600 แผนงานที่ 11 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 4 โครงการประเมินคุณธรรม ความโปร่งใสและบริหารความเสี่ยง แผนที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 5 โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุขกระทรวงแห่งความสุข 6 โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ แผนงานที่ 12 : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 7 โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ(NHIS) 11,600
รายละเอียดตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 20 ปี ภายใต้กรอบ 15 แผนงาน 45 โครงการ และ 80 ตัวชี้วัด
RB 1 ปฐมวัย แม่และเด็ก แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) RF 1.1 - อัตราส่วนการตายมารดาไทย RF 1.2 - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
อ.เมืองเชียงใหม่ พบว่า เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานคือ ปัญหาเด็กปฐมวัย อ.เมืองเชียงใหม่ พบว่า เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานคือ ร้อยละ 40.05 วิเคราะห์ตามกรอบ SAB 1. Structure/function - CPM จังหวัด/อำเภอ - WCC รพ./รพ.สต./อสม. 2. Gap Analysis - สูงดี สมส่วน 40.05% - ขยายเครือข่ายความร่วมมือ 3. Framwork - อปท./ศพด./รร./พ่อแม่ญาติ/ชุมชน - อาหารตามวัย 4. Task list - ส่งเสริมเฝ้าระวัง/การนิเทศติดตามของ CPM 5. Activities/project - การประชุมให้แนวทางการดำเนินงาน/อบรมและฝึกทักษะ PIRAB P - อปท./ศพด./โรงเรียน/พม./กาชาด I - อาหารตามวัย R - รายงานข้อมูลทันเวลา A - การรณรงค์ B - พ่อแม่ญาติ/อสม./พี่เลี้ยง/ครู Activities/project : WCC คุณภาพ/ศพด.คุณภาพ
Essential List/Task ปี 2561 กลุ่มเด็กปฐมวัย 0-5 ปี มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การดำเนินงานของคณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ - มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ - มีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงาน และมีแผนการพัฒนาระดับอำเภอ - รายงานการประชุมของคณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง - มีรายงานผลการดำเนินงาน - มีรายงานการติดตาม การดำเนินงานของ รพ.สต.ทุกแห่ง โดย CPM ระดับอำเภอ - คณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ นำเสนอการดำเนินงาน 2. การบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี - มีสภาพปัญหาที่ทำให้การบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ไม่มีคุณภาพ ไม่ครบถ้วน และไม่เป็นปัจจุบัน - มีข้อมูลการติดตามการดำเนินงานในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม/HDC ทุกเดือน - มีการบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
Essential List/Task ปี 2561 กลุ่มเด็กปฐมวัย 0-5 ปี มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. การให้บริการคัดกรองในสถานบริการ - CPM ระดับอำเภอ มีข้อมูลสภาพปัญหาการดำเนินงานของ รพ.สต.แต่ละแห่ง และมีแผนโภชนาการเด็กร่วมกันในระดับอำเภอ - เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 - เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 4. การดำเนินงานWCC คุณภาพ ใน รพ.สต. - รพ.สต.มีข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงาน WCC/โรงเรียนพ่อแม่ และมีแผนแก้ไขปัญหาทุกแห่ง - มีข้อมูลการพัฒนา WCC - มีการดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่ตามที่กำหนด และมีผลการดำเนินงาน - CPM ระดับอำเภอ มีรายงานการติดตามการดำเนินงานของ รพ.สต.ทุกแห่ง - WCC ผ่านเกณฑ์ WCC คุณภาพ ร้อยละ 100 - ผู้ปกครองได้เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ร้อยละ 80 5. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย - ศพด./รร./อสม. ได้รับการอบรมและฝึกทักษะ - รพ.สต. มีข้อมูลประเมินมาตรฐาน ศพด.คุณภาพ - มีข้อมูลวิเคราะหฺปัญหา - รพ.สต.มีข้อมูลการพัฒนา ศพด. - สนับสนุนกิจกรรมจัดมุมเรียนรู้ ใน ศพด./รร./ชุมชน - มีรายงานผลการเฝ้าระวัง เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของ ศพด./รร./อสม. พร้อมทั้งวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา - ศพด.ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60
RB 2 วัยเรียน วัยรุ่น
RB 2 วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) RF 2.1 - ร้อยละของเด็กกลุ่ม 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free)
2.1 -ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) สภาพปัญหา 1. อำเภอเมืองเชียงใหม่มีบริบทเป็นชุมชนเมือง อัตราการโยกย้ายของเด็กนักเรียนค่อนข้างสูง (ตามบิดา-มารดา) ทำให้เป้าหมายไม่แน่นอน 2. เด็กในพื้นที่เข้าเรียนในโรงเรียนเอกชน เช่น เขตพื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ ซึ่งยากต่อการติดตาม ส่วนใหญ่เข้ารับบริการทันตกรรมในโรงพยาบาลเอกชนหรือคลินิก 3. ทันตบุคลากรมีน้อย บางพื้นที่ไม่มียูนิตทำฟันและขาดแคลนเครื่องมือและวัสดุทางทันตกรรม -ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2560- การแก้ไขปัญหา 1. มีหน่วยงานผู้ประสานในการติดตาม และคืนข้อมูลให้พื้นที่แต่ละตำบล เพื่อนำข้อมูลมาลงในฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและครอบคลุม 2. การจัดสรรบุคลากรเพิ่มในพื้นที่ สนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์แก่หน่วยงาน 3. มีการบริหารจัดการ การทำงานในรูป CUP ร่วมกับแม่ข่ายออกหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 ร้อยละของชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด กลุ่มอายุ ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 เกณฑ์เป้าหมาย จำนวนสถานบริการ (แห่ง) ผลงาน (แห่ง) ร้อยละ 1. ร้อยละของชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 60 8 100 การดำเนินงานทันตสุขภาพในชมรมผู้สูงอายุ 1. มีข้อมูลสุขภาพช่องปากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 2. ชมรมผู้สูงอายุมีการจัด กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 ร้อยละของตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด กลุ่มอายุ ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2560 เกณฑ์เป้าหมาย จำนวนสถานบริการ (แห่ง) ผลงาน (แห่ง) ร้อยละ 1. ร้อยละของตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ด้านส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 60 8 100 รพ.สต.ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองมีการดำเนินการ LTC ทุกแห่ง 1. ชมรมผู้สูงอายุมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพ 2. การตรวจสุขภาพช่องปาก 3. มีการจัดบริการทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ 4. บันทึกข้อมูลในโปรแกรม JHCIS และลงข้อมูลผ่านเว็บกรม อนามัย สำนักทันตสาธารณสุข โครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
งานทันตสาธารณสุข SAB PIRAB STRUCTURE-FUCTION - กำหนดเขตพื้นที่รับผิดชอบของทันตบุคลากรและ บทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน GAP ANALYSIS - การประชุมงานด้านทันตสุขภาพร่วมกับ รพ.ไม่ต่อเนื่อง - พฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุ และพฤติกรรมการแปรงฟันที่ไม่สะอาด - ทันตบุคลากรมีน้อย - การเข้าถึงบริการทันตกรรมน้อยในพื้นที่เขตเมือง MONITORING AND EVALUATION - ติดตามตัวชี้วัด HDC / CMBIS - ประชุมสรุปการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา - นิเทศติดตามงานทันตสาธารณสุข PIRAB P : อสม. /ผู้บริหาร/ครูอนามัยโรงเรียน/ ผู้ปกครอง เด็ก I : (กองทุนสุขภาพระดับตําบล ,สปสช) R : ประชุมชี้แจงตัวชี้วัด และแนวทางการดำเนินงาน ร่วมกัน A : ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขศึกษา สอน แปรงฟันโดยการวิธีปฏิบัติจริง, เน้นการให้ความรู้เรื่อง ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรกม, จัดอบรมเจ้าหน้าที่ เพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการตรวจคัดกรองแทนทันตบุคลากร B : การทำงานในรูป CUP ร่วมกับแม่ข่ายออกหน่วย ทันต-กรรมเคลื่อนที่ ,สร้างภาคีเครือข่ายในการ ทำงาน ,คืนข้อมูลการตรวจและให้บริการทันตกรรม ให้พื้นที่ในการบันทึกข้อมูล ACTIVITIES/PROJECT: โครงการบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากทุกกลุ่มวัย ปี 2561
RB 2 วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) RF 2.2 - ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดี สมส่วน
งานวัยเรียน PIRAB วิเคราะห์ตามกรอบ SAB อ.เมืองเชียงใหม่ พบว่า เด็กนักเรียนสูงดี สมส่วนต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานคือร้อยละ 65.32 วิเคราะห์ตามกรอบ SAB 1. Structure/function - PM จังหวัด/อำเภอ และโรงเรียน 2. Gap Analysis 1) ความครอบคลุม 42.85% 2) สูงดี สมส่วน 65.32% 3) เริ่มอ้วน+ อ้วน 11.69% 4) เตี้ย 8.42% 3. Framwork P : โรงเรียน (โครงการแก้ไขปัญหาในโรงเรียน) A : ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ B : โรงเรียนเป้าหมายคือ รร.ท่าศาลา 4. Task list - การถ่ายทอดนโยบายทางแผนงาน, การเพิ่มศักยภาพ และการวิเคราะห์แก้ไขปัญหา 5. Activities/project - เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ (ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง), การคัดกรอง, ส่งต่อ และแก้ปัญหา 6. Monitiorimg and Evaluation - รายงาน HDC PIRAB P - โรงเรียน (โครงการแก้ปัญหาในโรงเรียน) - อปท. I - การจัดการข้อมูล, เครือข่าย R - รับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ A - ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ B - โรงเรียนเป้าหมาย คือรร.ท่าศาลา Activities/project : โครงการแก้ไขปัญหาเด็กวัยเรียน ที่มีภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน อ.เมืองเชียงใหม่ ปี 2561 : พัฒนาโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปี 2561
Essential List/Task ปี 2561 กลุ่มวัยเรียนอายุ 6-14 ปี มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. ระบบรายงาน 43 แฟ้ม - บุคลากรที่เกี่ยวข้องระดับตำบลได้รับการเสริมศักยภาพเรื่องระบบรายงาน 43 แฟ้ม และรายงานแปลผล 1 ครั้ง - มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการ เทอม 2/2560 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุม ร้อยละ 60 - มีรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ (เริ่มอ้วน อ้วน ผอม เตี้ย) เทอม 2/2560 ครอบคลุมครบถ้วน และทันเวลา - มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการ เทอม 2/2560 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุม ร้อยละ 80 - มีรายงานการติดตาม การบันทึกรายงาน 43 แฟ้ม คัดกรอง เฝ้าระวัง/ตรวจสุขภาพ นร.เทอม 1/2561 - มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการ เทอม 1/2561 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุม ร้อยละ 60 - มีรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ (เริ่มอ้วน อ้วน ผอม เตี้ย) เทอม 1/2561 ครอบคลุมครบถ้วน และทันเวลา - มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการ เทอม 1/2561 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย ครอบคลุม ร้อยละ 80 2. การพัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครู และ SKC - ผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับนโยบาย เป้าหมาย แนวทางแก้ไข องค์ความรู้ SKC ครอบคลุมรพ.สต.ทั้งหมด 8 แห่ง จนท.รพ.สต.ทุกแห่ง/ครู และแกนนำนักเรียน (Smart kids leader) ในโรงเรียนสังกัด สพป.ทั้งหมด 22 แห่ง ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ แนวทาง SKC จากทีม SKC ระดับอำเภอ (ครู ข.) รพ.สต. และครูอนามัยโรงเรียนสังกัด สพป. ได้รับการถ่ายทอดนโยบายและความรู้ ร้อยละ 100
Essential List/Task ปี 2561 กลุ่มวัยเรียนอายุ 6-14 ปี มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. การคัดกรอง นักเรียน Obesity sign - เด็กนักเรียน เทอม 2/2560 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 60 - เด็กนักเรียน เทอม 2/2560 ได้รับการคัดกรอง Obesity sign ร้อยละ 60 - เด็กนักเรียน เทอม 2/2560 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 - เด็กนักเรียน เทอม 2/2560 ได้รับการคัดกรอง Obesity sign ร้อยละ 100 - เด็กนักเรียน เทอม 1/2561 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 60 - เด็กนักเรียน เทอม 1/2561 ได้รับการคัดกรอง Obesity sign ร้อยละ 60 - เด็กนักเรียน เทอม 1/2561 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 - เด็กนักเรียน เทอม /256 ได้รับการคัดกรอง Obesity sign ร้อยละ 100 4. การดำเนินงานคลินิก DPAC ใน รพ.สต. - มีการจัดตั้งคลินิก DPAC รพ.สต.ทั้งหมด 8 แห่ง - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ไขปัญหา ดูแล ส่งต่อ เด็กวัยเรียนทุพโภชนาการ ร่วมกับ รร. และภาคีเครือข่าย - มีข้อตกลงร่วมกันจัดระบบดูแล ส่งต่อ คลินิก DPAC - นักเรียนอ้วนเสี่ยง Obesity sign เทอม 2/2560 ได้เข้าสู่ระบบบริการ/ระบบการดูแลแก้ไขปัญหา ในคลินิก DPAC - นร. เริ่มอ้วน อ้วน ผอม เตี้ย เทอม 2/2560 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun) และการออกกำลังกาย - นร. เริ่มอ้วน อ้วน ผอม เตี้ย เทอม 1/2561 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun) และการออกกำลังกาย (Fun For Fit) ร้อยละ 50 - มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ - นร. เริ่มอ้วน อ้วน ผอม เตี้ย เทอม 1/2561 รายใหม่ทุกราย ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun) และการออกกำลังกาย (Fun For Fit) ร้อยละ 100
Essential List/Task ปี 2561 กลุ่มวัยเรียนอายุ 6-14 ปี มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - นักเรียนอ้วนเสี่ยง Obesity sign เทอม 2/2560 เข้ารับบริการที่คลินิก DPAC ร้อยละ 50 - นร. เริ่มอ้วน อ้วน ผอม เตี้ย เทอม 2/2560 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun) และการออกกำลังกาย (Fun For Fit) ร้อยละ 50 (Fun For Fit) - มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 5. การจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนในโรงเรียน/ในชุมชน - อำเภอมีข้อมูลการดำเนินงานการคัดกรอง Obesity sign รายงานผลการวิเคราะห์ปัญหา - มีแผนงานแก้ไขปัญหา - ตำบลมีแผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน/ภาคีเครือข่าย - มีผลการดำเนินงานตาม - มีรายงานผลการติดตามการดำเนินงานของคณะทำงานอำเภอ - มีผลการดำเนินกิจกรรมต่อในโรงเรียน - ภาคีเครือข่ายมรส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม - เด็กกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
Essential List/Task ปี 2561 กลุ่มวัยเรียนอายุ 6-14 ปี มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ร่วมกับโรงเรียน/อปท./ผู้ปกครอง/คณะกรรมการสถานศีกษา และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ แผนที่วางไว้ - เด็กกลุ่มปกติเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 50 6. การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - มีการแต่งตั้งคณะทำงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ - มีข้อมูลโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร - ผู้บริหาร/บุคลากรครูทุกคนในโรงเรียน (ที่เข้าร่วมการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ก้าวสู่ระดับเพชร) ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ - โรงเรียนได้ประเมินตนเอง และมีแผนแก้ไขปัญหา - มีผลการดำเนินงานตามแผน - รร.มีรายงานส่งข้อมูลการประเมิน 19 ตัวชี้วัด ให้ รพ.สต., คพ.สอ. และ สพป.เขต - มีรายงานการประเมิน รร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยทีมคณะทำงานระดับอำเภอ - รร.มีข้อมูลผลการแก้ไขตามคำแนะนำประเมินผล 19 ตัวชี้วัด แลเตรียมพร้อมขอรับรองเบื้องต้น - มีรายงานการประเมิน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยทีมคณะทำงานระดับจังหวัด - โรงเรียนผ่านเกณฑ์ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มขึ้น อำเภอละ 1 โรงเรียน
RB 2 วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) RF 2.3 - ร้อยละของการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี 2560 ผลงานการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน อัตรา/ร้อยละ 1. การคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 42 ต่อพันประชากร 2,093 1 0.04 2. การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี (ร้อยละ 10) 3. หญิงอายุ 15-19 ปี ที่คลอด ได้รับบริการคุมกำเนิด ใน 42 วัน (ร้อยละ 80) 100 ข้อมูลจากการรายงานในพื้นที่ ต.สันผีเสื้อ
RB 3 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
RB 3 : ผู้สูงอายุ ผู้พิการ แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) RF 3.1 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ RF 3.2 การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน (COC) RF 3.3 การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care) RF 3.4 งานคนพิการ RF 3.5 งานผู้สูงอายุ
ข้อมูลนำเข้า ปี 2560 จำนวน จำนวนผู้สูงอายุ 11,571 ราย 11,571 ราย จำนวนผู้พิการที่เข้าถึงบริการสุขภาพ 622 ราย รพ.สต.มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้ผู้พิการ/ผู้สูงอายุ 8 แห่ง กลุ่มติดสังคม 11,217 กลุ่มติดบ้าน 253 กลุ่มติดเตียง 101 จำนวนผู้สูงอายุ ปี 2559
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงานไตรมาสที่ 1 การคัดกรอง ADL,โรคผู้สูงอายุ/โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ มีการดำเนินการการคัดกรอง ADL,โรคผู้สูงอายุ/โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุทุกตำบล จำนวน 9,515 ราย คิดเป็นร้อยละ 82.23 ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพ ประเมินเสร็จสิ้น 7 แห่ง และอยู่ระหว่างดำเนินการ 1 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 87.50 การดำเนินงาน โรงเรียนผู้สูงอายุ/ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต มี โรงเรียนผู้สูงอายุ 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25 ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ/ผู้พิการ 4 แห่ง และอยู่ระหว่างดำเนินการ 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50 การบริการส่งเสริมป้องกันทันตสาธารณสุขในตำบล มีการให้ความรู้และตรวจสุขภาพช่องปากตามโครงการฟันเทียมพระราชทาน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25
ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงานไตรมาสที่ 1 ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปี2560 ปี 2561 อปท.สมัครเข้าโครงการฯ จำนวน 4 แห่ง (แม่เหียะ,ช้างเผือก,ป่าแดด,ท่าศาลา,อปท.หนองหอย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ท้องที่และภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมทั้งหมด 7 แห่งในรูปแบบทีมหมอครอบครัว
สถานการณ์ ( situation) ปี 2560 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน จำนวนเป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว 50 8 4 (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ 2 Care Manager ที่ผ่านการอบรม 70 ชั่วโมง 1 คน : 1 ตำบลเป้าหมาย ครบทุกตำบล 100 3 จัดอบรม care giver ในตำบลเป้าหมาย ครบทุกตำบล จำนวน 62 คน มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียงโดยท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมและมีแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) 100 สิทธ์ UC ที่ได้รับงบฯจาก สปสช. 104 (ราย)
ผลการดำเนินงานปี 2561 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ณ เดือน.....ธันวาคม 2560 จำนวนเป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ 80 7 5 71.4 2 Care Manager ที่ผ่านการอบรม 70 ชั่วโมง 1 คน : 1 ตำบลเป้าหมาย ครบทุกตำบล 100 จำนวน 6 คน 3 จัดอบรม care giver ในตำบลเป้าหมาย ครบทุกตำบล จำนวน 70 คน
การวิเคราะห์ปัญหา / เป้าหมาย / โอกาสใน การพัฒนา (GAP Analysis) ปัญหาที่พบ สภาพปัญหา แนวทางพัฒนา (PIRAB) 1. ขาดความเข้าใจของทีมงานในเรื่องการดำเนินงาน LTC การดำเนินงานLTC งานที่ต้องใช้ความร่วมมือแบบบูรณาการกับทุกภาคส่วนทำให้การประสานงานและการทำความเข้าใจที่ตรงกันมีความล่าช้า การประสาน ขอความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน LTC 2. การดำเนินงานล่าช้า CMมีภาระงานอื่นๆส่งผลให้การดูแลผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายไม่ครอบคลุม จัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม 3. CM ขาดขวัญและกำลังใจในการดำเนินงาน -การติดตามเยี่ยมบ้าน CG ได้รับค่าตอบแทน แต่CM ไม่ได้รับ และจะต้องทำสรุปรายงาน ส่ง สปสช.เพื่อของบประมาณให้ CG เสนอให้มีค่าตอบแทนแก่ CM ในบางพื้นที่
การวิเคราะห์ปัญหา / เป้าหมาย / โอกาสในการ พัฒนา (GAP Analysis) ปัญหาที่พบ สภาพปัญหา แนวทางพัฒนา (PIRAB) 3. ทักษะของCG -องค์ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยและทักษะของCGไม่เท่าเทียมกันรวมทั้งความคาดหวังของผู้ป่วยและญาติมีสูงทำให้ขาดความมั่นใจในการดูล] -ผู้ป่วยและญาติปฏิเสธการเข้าร่วมโครงการ จัดอบรมพัฒนาศักยภาพเพิ่มทักษะให้แก่ CG CMสร้างความเข้าใจแก่ญาติ เพื่อให้เกิดความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยระยะยาว 4. การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยสิทธิ์นอกUC ภาระงานมากขึ้นเนื่องจากต้องดูแลกลุ่มสิทธิ์นอกUC เสนอโครงการของบกองทุนหลักประกันสุขภาพฯสปสช.
แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ (Activities / Project) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) เพื่ออบรมCare Managerและ Care Giver สปสช.,กศน. 2 การดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงแบบบูรณาการร่วมกับชุมชน สปสช. 3 ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และผู้พิการ พมจ.
สถานการณ์ ( situation) ปี 2560 (COC) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน จำนวนเป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1 ร้อยละความครอบคลุมในการเยี่ยมบ้านในกลุ่มเป้าหมาย >80 254 100 2 ร้อยละการใช้ Chart Home Ward 100 ในผู้ป่วยกลุ่มสีแดง 3 มีศูนย์ฟื้นฟูในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง/อำเภอ 1 แห่ง/อำเภอ 8 6 75 4 ร้อยละของอำเภอมีข้อมูลรายงานถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันทุกเดือน
ผลการดำเนินงานปี 2561 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน จำนวนเป้าหมาย ผลการดำเนินงานปี 2561 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน จำนวนเป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 1 ร้อยละการใช้ Chart Home Ward 100 ในผู้ป่วยกลุ่มสีแดง 2 ร้อยละการ Re-admit ภายใน 28 วันด้วยโรคเดิม ไม่เกินร้อยละ 10 35 2 5.17 3 ร้อยละการเกิดภาวะแทรกซ้อน (การเกิดแผลกดทับใหม่ การพลัดตกหกล้ม การเกิดข้อติด ปอดบวม ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ) ไม่เกินร้อยละ 5 254 12 4.72 4 ร้อยละความครอบคลุมในการเยี่ยมบ้านในกลุ่มเป้าหมาย >80 5 มีศูนย์ฟื้นฟูในชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง/อำเภอ 1 แห่ง 6
การวิเคราะห์ปัญหา / เป้าหมาย / โอกาสในการพัฒนา (GAP Analysis ) ปัญหาที่พบ สภาพปัญหา แนวทางพัฒนา (PIRAB) 1)ไม่มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เนื่องจากอำเภอเมืองมีประชากรแฝงและกลุ่มเป้าหมายนอกเขตหมุนเวียน ทำให้ไม่สามารถระบุจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนได้ ประสานขอความร่วมมือผู้นำชุมชน เพื่อช่วยในการค้นหากลุ่มเป้าหมาย 2)การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากอำเภอเมืองมีบ้านจัดสรรและคอนโด ที่ไปใช้บริการที่อื่น ทำให้ขาดข้อมูลในกลุ่มนี้ ทำให้ไม่สามารถระบุจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนได้ ประสานขอความร่วมมือผู้นำชุมชน ในการประชาสัมพันธ์ตามหอกระจายข่าว
แผนงาน /โครงการ/กิจกรรม รองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 พัฒนาความรู้ ทักษะ ที่อสม. กองทุนฯ 2 คัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบ
ปัญหา อุปสรรคที่พบโดยภาพรวม………… การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ข้อเสนอแนะ/ แนวทางแก้ไขปัญหา.......... ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย, ความสม่ำเสมอในการค้นหา / คัดกรองผู้ป่วย
ผู้พิการ
สถานการณ์ ( situation) ปี 2560 (ผู้พิการ) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ประเภทความพิการ เป้าหมาย (คน) ผลงาน ร้อยละ 1 คนพิการทุกประเภท คนพิการ 8 ประเภท เข้าถึง - พิการทางการมองเห็น 241 158 65.56 เข้าถึงบริการสุขภาพ บริการด้านสุขภาพ - พิการทางการได้ยิน 810 567 70.00 ร้อยละ 80 หรือสื่อความหมาย - พิการทางการ 1,743 1,176 67.47 เคลื่อนไหวหรือทาง ร่างกาย - พิการทางสติปัญญา 398 268 67.34 - พิการทางจิตใจหรือ 289 230 79.58 พฤติกรรม - พิการทางเรียนรู้ 143 102 71.33 - พิการทางออทิสติก 76 61 80.26 - พิการซ้ำซ้อน - - รวมทั้งหมด 3,700 2,562 69.24
แผนงาน /โครงการรองรับ ( Activities / Project ) ลำดับ โครงการ แหล่งงบประมาณ 1 โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 2 โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการและผู้สูงอายุ 3 โครงการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงและผู้พิการแบบูรณาการในชุมชนโดยอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
RB 4 โรคไม่ติดต่อ
RB 4 โรคไม่ติดต่อ แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90 สภาพปัญหา 1. อำเภอเมืองเชียงใหม่มีบริบทเป็นชุมชนเมือง ความรีบเร่งส่งผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ (การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์) 2. ประชาชนขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง 3. การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงได้ยาก เช่น บ้านจัดสรร กลุ่มวัยทำงานแลมักจะไม่อยู่บ้าน แนวทางการพัฒนา - เพิ่มความคลอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่ไม่คลอบคลุม -ภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการคัดกรอง บูรณการกับงานในชุมชน เช่น การคัดกรองในงานบุญ งานศพ และอื่นๆ ผลงานปี 2560 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ การคัดกรองเบาหวาน >90 34,248 22,779 90.60 การคัดกรองความดันโลหิตสูง >90 24,769 22,826 92.16 ข้อมูลจาก HDC 12 ม.ค.61
RB 4 โรคไม่ติดต่อ แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ RF 4.2 -อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง
RB 4 โรคไม่ติดต่อ แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) RF 4.3 -ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ >40% RF 4.4 -ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/ 1.73m2/yr >=66 ข้อมูลจาก HDC 12 ม.ค.61
RB 4 โรคไม่ติดต่อ ความครอบคลุมและคุณภาพในการดูแลผู้ป่วย DM-HT 1 1 ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk > ร้อยละ 82.5 2 ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา > ร้อยละ 60 3 ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า > ร้อยละ 60 ปี 2561 กำลังดำเนินการ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน/รพ.สต. ต.หนองหอย ต.เจ็ดยอด
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน/รพ.สต. ต.ท่าศาลา ต.แม่เหียะ
กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) ต.สันผีเสื้อ
RB 4 โรคไม่ติดต่อ SAB PIRAB STRUCTURE-FUCTION 1. คณะกรรมการดำเนินงาน NCD อำเภอเมือง GAP ANALYSIS วิถีชีวิตชุมชนเมือง ความเร่งรีบ ส่งผลพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย ของประชาชน ประชาชนขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ - มีผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มารับบริการการรักษามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากทุกปี MONITORING AND EVALUATION 1. ติดตามกลุ่มป่วย/กลุ่มเสี่ยง อย่างต่อเนื่อง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และเสริมพลังโดยค้นหาต้นแบบในชุมชนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ดี 2 . ประชุมสรุปการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา 3.. รายงาน HDC/CMBIS PIRAB P : ผู้นำชุมชน/รพ./สสอ./รพ.สต./อปท./อสม. I : งบ PP ,สนับสนุนการอบรมกลุ่มเสี่ยง,งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ R : นโยบายสาธารณะ - มีการแสดงข้อมูลรายงานผลกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยให้กับชุมชนเพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงความเสี่ยงและการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ A: รณรงค์คัดกรอง,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม –มีการแจ้งสถานการณ์การเฝ้าระวังโรคและให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย B: ให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่สำคัญ ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไตวาย หัวใจและหลอดเลือด ACTIVITIES : โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง / โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มป่วย ปะจำปี 2561
Essential List/Task วัยทำงาน มาตรการ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน Small Success -คัดกรองกลุ่มเสี่ยง 35ปีขึ้นไปร้อยละ 50 -ให้คำปรึกษาการเรื่องปฏิบัติตัว ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ป้องกันโรคไม่ติดต่อ ร้อยละ 50 -คัดกรองกลุ่มเสี่ยง 35ปีขึ้นไปร้อยละ 90 -ลงบันทึกข้อมูล ในระบบ JHCIS ให้ครบถ้วน ของที่คัดกรอง -กลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลร้อยละ 100 -ติดตามผลการดำเนินงาน จำแนกกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยรายใหม่ และสรุปรายงานผลการดำเนินงานคืนข้อมูลให้กับพื้นที่ -ประเมินผล Gap Analysis สถานการณ์และปัญหาอุปสรรคโรคไม่ติดต่อ Essential Task -มีข้อมูลจัดประเภทกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย -กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -พื้นที่ได้รับทราบข้อมูลสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ -คณะกรรมการ พชอ.รับทราบผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ Mile Stone การจัดการดูแลตนเอง -กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อได้รับ คัดกรอง ร้อยละ 50 -ผู้ป่วย ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ ร้อยละ 50 -กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยได้รับการดูแลติดตามต่อเนื่อง ร้อยละ 100 -พื้นที่แยกได้รับทราบข้อมูลสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยรายใหม่ -มีการนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนงานโครงการในปีถัดไป
RB 5 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/อวล. ปัญหาสุขภาพในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ RF 5.1 -ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง : อำเภอเมือง มีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมSAT มีการดำเนินการต่อเนื่อง RF 5.31 -ไข้เลือดออก อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ10 ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
RB 5 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/อวล. ปัญหาสุขภาพในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ RF 5.-32 -หมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีโรคไข้เลือดออกไม่เกิด Secondary Generation >ร้อยละ 80
งานโรคไข้เลือดออก SAB STRUCTURE-FUCTION -มีคณะกรรมการควบคุมโรคระดับอำเภอ - มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) -GAP ANALYSIS -ชุมชนเมืองมีความหลากหลาย การเข้าถึงยากทำให้การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่ไม่คลอบคลุม -การรับสนับสนุนงบประมาณในแต่ละพื้นที่แตกต่างกัน -ประชาชนขาดความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรค MONITORING AND EVALUATION -มีการสรุปข้อมูลสถานการณ์โรครายปี ไปใช้ในการวางแผนงานในปีถัดไป -เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -นิเทศ ติดตาม PIRAB P- รพ./สสอ./รพ.สต./อปท./อสม. I – งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ/ อปท. R- มาตรการทางสังคมจากการทำประชาคม/MOUทุกภาคส่วน - มีการแสดงข้อมูลรายงานผลการเกิดโรครายไตรมาสให้ชุมชนตระหนักถึงความเสี่ยงและการควบคุมป้องกันโรคให้กับชุมชน A-การรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก -การค้นหาข้อมูลความเสี่ยงของพื้นที่ในการเกิดโรคให้ชุมชนทราบ B- การอบรมให้ความรู้ / อบรมเชิงปฏิบัติ / การซ้อมแผน ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก - พัฒนาทีมเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในระดับตำบล พัฒนาระบบการเฝ้าระวังสถานการณ์โรค ACTIVITIES/PROJECT: โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2561
Essential List/Task งานโรคไข้เลือดออก(แผนดำเนินการ) มาตรการ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน Small Success -ทำแผนดำเนินการ ไข้เลือดออก ภาคีเครือข่ายทุก ตำบลร้อยละ 100 -นิเทศงานติดตามกำกับงาน ประเมินผลร้อยละ 25 -นิเทศงานติดตามกำกับงาน ประเมินผลร้อยละ 50 -นิเทศงานติดตามกำกับ งานประเมินผลร้อยละ 75 -นิเทศงานติดตามกำกับ งานประเมินผลร้อยละ 100 Essential Task -มีแผนดำเนินการไข้เลือดออกในระดับอำเภอและตำบล -มีแผนการการนิเทศ ติดตาม กำกับประเมินผลงานในพื้นที่ Mile Stone -จัดทำแผนปฎิบัติการไข้เลือดออก -พท.ไม่พบผู้ป่วย (มบ.ขาวเทาดำ) -มบ.พบผู้ป่วย(มบ.เขียวเหลืองแดง) -นิเทศ ติดตาม กำกับงาน ประเมินผล -มีการนิเทศ ติดตาม กำกับงาน ประเมินผล -คืนข้อมูลให้ชุมชน
Essential List/Task งานโรคไข้เลือดออก(ระบบเฝ้าระวังโรค) มาตรการ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน Small Success -มีกิจกรรมตามระบบเฝ้า ระวังโรคในพื้นที่ทุกพื้นที่ Essential Task -มีระบบการเฝ้าระวังโรค Mile Stone -ทุกพื้นที่จัดกิจกรรมตามระบบเฝ้าระวังโรค 1.รณรงค์ให้ทำลายเพาะพันธ์ยุงลายทุกสัปดาห์ 2.สำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือน 3.มีการสุ่มสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ? 4.มีการเฝ้าระวัง Ptไข้สูงในพื้นที่ Alert
Essential List/Task งานโรคไข้เลือดออก(ระบบสอบสวนโรค) มาตรการ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน Small Success -มีกิจกรรมตามระบบ สอบสวนโรคในพื้นที่ทุก พื้นที่ Essential Task -มีระบบการสอบสวนโรค Mile Stone -ทุกพื้นที่จัดกิจกรรมตามระบบสอบสวนโรค 1.จัดทำระบบสื่อสารแจ้งข่าว 2.ลงพื้นที่สอบสวนโรค 3.สอบสวนเฉพาะราย(รพ.สต.) ระบาด(ทีม SRRT) 4.ส่งรายงานสอบสวนโรคเบื้อต้น ภายใน 2 วัน ฉบับสมบูรณ์ภายใน 1 เดือน
Essential List/Task งานโรคไข้เลือดออก(ระบบควบคุมโรค มาตรการ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน Small Success -มีกิจกรรมตามระบบ ควบคุมโรคในพื้นที่ทุก พื้นที่ -มีกิจกรรมตามระบบ ควบคุมโรคในพื้นที่ทุกพื้นที่ Essential Task -มีระบบการควบคุมโรค Mile Stone -ทุกพื้นที่จัดกิจกรรมตามระบบควบคุมโรค 1.แจ้งข่าวเกิดโรคภาคีเครือข่าย 2.ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 3.พ่นเคมีทำลายตัวแก่ 4.ค้นหา Pt ที่มีอาการเข้ากับโรคไข้เลือดออก 5.ขับเคลื่อน ปชค.แก้ไขปัญหา 6.ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ 7.สุ่มสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายตามเกณฑ์หลังคาเรือน
RB 5 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/อวล. แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม RF 5.4 -ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital_: ระดับดี แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) RF 5.5 -อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ
RB 5 ระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพ/อวล. แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม RF 5.6 -ร้อยละอัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
งานวัณโรค SAB STRUCTURE-FUCTION - คณะกรรมการวัณโรค คพ.สอ.เมืองเชียงใหม่ -คณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติยุติวัณโรคแห่งชาติ สสอ. เมืองเชียงใหม่ (ร่าง) GAP ANALYSIS 1. การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงไม่ครอบคลุมตามเป้าหมาย 2. การบำบัดรักษาผู้ป่วยรายใหม่ไม่ถึงเป้าหมาย MONITORING AND EVALUATION - ติดตามตัวชี้วัด HDC / CMBIS TBCM online - ประชุมสรุปการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา - นิเทศ ติดตาม กำกับงาน และประเมินผลในพื้นที่ PIRAB P1 : การประชุมงานของคณะทำงานฯไม่ต่อเนื่อง : การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทำได้ยาก : ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานที่นำส่งเพื่อ ตรวจเสมหะและเอ็กซเรย์ : เจ้าหน้าที่มีปริมาณงานมาก แนวทางพัฒนา -ประชุมคณะทำงาน/ชี้แจงแนวทางดำเนินการต่อ จนท./เครือข่าย -กำหนดเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงให้ชัดเจน -ประสาน อปท. ให้นำส่งตรวจ I1 : กลุ่มเสี่ยงไม่มีเงินจ่ายค่าเดินทางหรือค่าตรวจฯ : ไม่มีงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ ACTIVITIES/PROJECT: โครงการวัณโรคในชุมชน เรือนจำ และในสถานบริการสาธารณสุข ปี 2561
งานวัณโรค (ต่อ) SAB PIRAB งานวัณโรค (ต่อ) SAB STRUCTURE-FUCTION - คณะกรรมการวัณโรค คพ.สอ.เมืองเชียงใหม่ -คณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติยุติวัณโรคแห่งชาติ สสอ. เมืองเชียงใหม่ (ร่าง) GAP ANALYSIS 1. การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงไม่ครอบคลุมตามเป้าหมาย 2. การบำบัดรักษาผู้ป่วยรายใหม่ไม่ถึงเป้าหมาย MONITORING AND EVALUATION - ติดตามตัวชี้วัด HDC / CMBIS TBCM online - ประชุมสรุปการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา - นิเทศ ติดตาม กำกับงาน และประเมินผลในพื้นที่ PIRAB แนวทางพัฒนา - จัดทำโครงการของบประมาณ กสต.,สปสช -กำหนดแน่ชัดว่าไม่มีค่าใช้จ่ายในการ -ตรวจฯทุกกลุ่มเป้าหมาย (นอก UC,ปกส.ฯลฯ) A2 : กลุ่มผู้ป่วยต่างด้าวมีปัญหาด้านการสื่อสาร -พัฒนาระบบบริการและการสื่อสารให้สมกับกลุ่มเป้าหมาย B2 :ขาดยา ไม่มารับบริการ ขาดการติดตาม -แนะนำและให้คำปรึกษา ACTIVITIES/PROJECT: โครงการวัณโรคในชุมชน เรือนจำ และในสถานบริการสาธารณสุข ปี 2561
Essential List/Task งานวัณโรค มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน Small Success -มีการประชุมชี้แจงแนวทางวัณโรค -มีการคัดกรอง ส่งตรวจและรักษาร้อยละ 25 -มีอบรมให้ความรู้ แกนนำ จนท. ร้อยละ 100 -มีการคัดกรอง ส่งตรวจและรักษากลุ่มเสี่ยงร้อยละ 50 -มีการคัดกรอง ส่งตรวจและรักษากลุ่มเสี่ยงร้อยละ 75 -มีการคัดกรอง ส่งตรวจและรักษา กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 100 -มีการประชุมสรุปงาน Essential Task -อบรมให้ความรู้ แกนนำวัณโรคในชุมชน มบ.ละ 2 คน - อบรมให้ความรู้ จนท.สธ. เรือนจำ -คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ส่งตรวจฯ และรักษา -ประชุม สรุปผลงาน คืนข้อมูล Mile Stone -จัดประชุมคณะทำงานฯ -จัดรณรงค์คัดกรอง ค้นหา ส่งตรวจ และรักษา -จัดประชุมสรุปผลงาน
RB 6 คบ/เภสัช แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) RF 6.2 -ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) : ผ่านเกณฑ์ ATB
Service Plan RDU SAB STRUCTURE-FUCTION ผู้รับผิดชอบฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลนครพิงค์ เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมือง GAP ANALYSIS เพื่อปรับทัศนคติ ความเชื่อ พร้อมทั้งเสริมสร้างความมั่นใจ ของประชาชนในพื้นที่ พัฒนาและเพิ่มศักยภาพ แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว MONITORING AND EVALUATION - นิเทศ ติดตาม ประเมินผล แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว PIRAB P-ไม่มีเครือข่ายดำเนินงานเฝ้าระวังการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล I –งบประมาณการจัดอบรม R- ประชุมชี้แจงตัวชี้วัด และแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน - ไม่มีข้อบังคับ มาตรการ ควบคุมกำกับ ติดตามการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล A-ไม่มีการประสานงาน ร่วมกับเครือข่าย B-แกนนำ ขาดความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ACTIVITIES/PROJECT: โครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ปีงบประมาณ 2561
Essential List/Task RDU มาตรการ 3เดือน 6เดือน 9เดือน 12เดือน Small Success -คัดเลือก กสค. -อบรมให้ความรู้ กสค.เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล -กสค. มีความรู้ในการเฝ้าระวังติดตามการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในพื้นที่ -กสค. เฝ้าระวังติดตามการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในพื้นที่ Essential Task -กสค. หมู่บ้านละ 2 คน จำนวน -อบรมให้ความรู้ กสค.เรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลร้อยละ 100 -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุ สมผล ร้อยละ 80 -กสค. มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล -ภาคีเครือข่ายเฝ้าระวังรถเร่ การโฆษณาโอ้อวดสรรพคุณ เกินความเป็นจริง ในพื้นที่ Mile Stone -มีภาคีเครือข่าย ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ทุกหมู่บ้าน -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุ สมผล -มีแนวทาง การดำเนินงานเฝ้าระวัง การใช้ยาอย่างสมเหตุ สมผล ในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
RB 7 ยาเสพติด/สุขภาพจิต แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) RF 7.1 -ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้รับการบำบัดรักษา และหยุดเสพต่อเนื่อง(Remission)
งานยาเสพติด / TO BE NUMBER ONE SAB STRUCTURE-FUCTION -คณะทำงานศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดอำเภอ -คณะทำงาน TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัด และระดับตำบล GAP ANALYSIS 1.ศูนย์คัดกรองยาเสพติดระดับตำบล 2.รพ.สต.ไม่มีข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติดในชุมชน 3. การขับเคลื่อนชมรมทูบีนัมเบอร์วันยังไม่ครอบคลุมทุกตำบล 4. Harm Reduction ใน รพ.สต.ทำได้ไม่ครบตามเกณฑ์ MONITORING AND EVALUATION - การลงบันทึกกิจกรรมใน JHCIS - ประชุมสรุปการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา - นิเทศ ติดตาม กำกับงาน และประเมินผลในพื้นที่ PIRAB P1 : การเปลี่ยนแปลงตามนโยบาย PCC P2 : รพ.สต.จึงไม่สามารถติดตาม ดูแล Pt ได้ : -ขาดข้อมูลส่งต่อผู้รับการบำบัดให้ รพ.สต. P3 : ผู้บริหารฯในพื้นที่ไม่เห็นความสำคัญของการ จัดทำชมรมทูบีนัมเบอร์วัน แนวทางพัฒนา -กำหนดให้ PCC ขะจาว เป็นศูนย์คัดกรองฯ -ประสานขอข้อมูลผู้รับผิดชอบของ รพ.นครพิงค์ -สสอ.ประสานงานและกระตุ้นภาคีเครือข่ายใน ดำเนินการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง I3 : ไม่มีงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ -ขอสนันสนุนจาก อปท./โรงเรียน/สถาน ประกอบการในพื้นที่ ACTIVITIES/PROJECT: โครงการพัฒนาระบบบำบัด รักษา ติดตามผู้เสพยาเสพติดอำเภอเมืองเชียงใหม่ปี 2561 โครงการทูบีนัมเบอวัน สสจ.เชียงใหม่
งานยาเสพติด / TO BE NUMBER ONE (ต่อ) SAB STRUCTURE-FUCTION -คณะทำงานศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดอำเภอ -คณะทำงาน TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวัด และระดับตำบล GAP ANALYSIS 1.ศูนย์คัดกรองยาเสพติดระดับตำบล 2.รพ.สต.ไม่มีข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัดยาเสพติดในชุมชน 3. การขับเคลื่อนชมรมทูบีนัมเบอร์วันยังไม่ครอบคลุมทุกตำบล 4. Harm Reduction ใน รพ.สต.ทำได้ไม่ครบตามเกณฑ์ MONITORING AND EVALUATION - การลงบันทึกกิจกรรมใน JHCIS - ประชุมสรุปการดำเนินงาน/แก้ไขปัญหา - นิเทศ ติดตาม กำกับงาน และประเมินผลในพื้นที่ PIRAB A4 : รพ.สต.ยังขาดความรู้ในการดำเนินการ : รพ.สต.ไม่สามารถดำเนินการได้ครบตามเกณฑ์ แนวทางพัฒนา -จัดประชุมและชี้แจงแนวทางในการดำเนินการให้ รพ.สต. -ให้ดำเนิน 2 องค์ประกอบคือการให้สุขศีกษาและ แจกถุงยางอนามัย ACTIVITIES/PROJECT: โครงการพัฒนาระบบบำบัด รักษา ติดตามผู้เสพยาเสพติดอำเภอเมืองเชียงใหม่ปี 2561 โครงการทูบีนัมเบอวัน สสจ.เชียงใหม่
Essential List/Task ยาเสพติด / TO BE NUMBER ONE มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน Small Success -มีศุนย์คัดกรองยาเสพติดใน รพ.สต.อย่างน้อย 1 แห่ง -ค้นหา คัดกรอง ผู้เข้ารับการบำบัดแบบสมัครใจบำบัดได้ตามเป้าหมาย -ขับเคลื่อนชมรมทูบีนัมเบอวันระดับได้ร้อยละ 25 -ขับเคลื่อนชมรมทูบีนัมเบอวันระดับได้ร้อยละ 50 -ขับเคลื่อนชมรมทูบีนัมเบอวันระดับได้ร้อยละ 80 Essential Task -มีศูนย์คัดกรองใน รพ.สต.ที่สามารถคัดกรองได้ -มีผู้เข้ารับการบำบัดค่าปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -มีชมรมทูบีนัมเบอวันในระดับตำบลเกิดขึ้น Mile Stone -การตั้งศูนย์คัดกรองยาเสพติดใน รพ.สต. -กำหนดพยาบาลรับผิดชอบ/ผ่านการอบรมฯ/คัดกรองได้ -จัดทำห้องตรวจพร้อมอุปกรณ์ -จัดทำชมรมทูบีนัมเบอวัน 1.1 ตำบล 1 ชุมชน 2. 1 ตำบล 1 โรงเรียน 3. 1 ตำบล 1 สถานประกอบการ.
RB 7 งานสุขภาพจิต
แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) RF 7.2 - งานสุขภาพจิต
การฆ่าตัวตายสำเร็จ ลำดับ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เป้าหมาย ผลงาน 1 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (< 6.3 ต่อประชากรแสนคน) ลดลง ร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา มีผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 คน อัตรา 0.43 ต่อประชากรแสนคน 2 คน อัตรา 0.87 ต่อประชากรแสนคน ในปี 2559 จากรายงาน สสจ. มีผู้ที่ฆ่าตัวตาย เมือง/แม่ริม 10 คน อัตรา 3.08 ต่อประชากรแสนคน ในไตรมาสที่ 1 ปี 2560 จากรายงานผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต ในแต่ละ รพ.สต. ไม่มีการฆ่าตัวตาย
ข้อมูลการฆ่าตัวตายสำเร็จ อ.เมืองเชียงใหม่ (อัตราต่อแสนประชากร) ปี 2560 ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 0.43 (1 คน) 0.87 (2 คน) ข้อมูลจากการรายงานในพื้นที่ รพ.สต.บ้านเจ็ดยอด ต.ช้างเผือก รพ.สต.บ้านศรีบุญเรือง ต.หนองหอย การวิเคราะห์ รายละเอียดข้อมูลผู้ที่ฆ่าตัวตาย จำนวน 3 คน เพศ ชาย ร้อยละ 66.67 และ หญิง ร้อยละ 33.33 อายุ 26-60 ปี ร้อยละ 66.67 และ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 33.33 อาชีพ ว่างงาน ร้อยละ 66.67 และ รับจ้าง ร้อยละ 33.33 สาเหตุการฆ่าตัวตาย โรคเรื้อรัง ร้อยละ 66.67 และ การทำงาน ร้อยละ 33.33 วิธีการฆ่าตัวตาย ผูกคอ ร้อยละ 66.67 และ จุดไฟเผา ร้อยละ 33.33 สถานที่ คือ บ้าน ร้อยละ 33.33 และ ร้อยละ 66.67 ระบุอื่นๆ ได้แก่ ภายในหมู่บ้าน/ภายในวัด การเข้าถึงบริการก่อนเสียชีวิต คือ ไม่เคยรับบริการด้านสุขภาพจิต ร้อยละ 100
การพยายามฆ่าตัวตายและการพยายามฆ่าตัวตายซ้ำในรอบ 1 ปี ลำดับ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เป้าหมาย ผลงาน 2 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไป ทำร้ายตนเองซ้ำ ภายใน 1 ปี (ร้อยละ 80 ) ไม่กลับไป ทำร้ายตนเองซ้ำ ภายใน 1 ปีร้อยละ 80 ไม่มีผู้พยายามฆ่าตัวตายซ้ำ - รวมทั้งปีงบประมาณ 60 มีผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายทั้งหมด 1 คน
การคัดกรอง ลำดับ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เป้าหมาย (คน) ผลงาน (คน/ร้อยละ) 3 การคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค (ร้อยละ 80) 3.1 NCD 1,835 1,823/99.35 1,792 1,419/79.19 3.2 จิตเวช 166 164/98.80 159 67/42.14 3.3 สุรา 73 72/98.63 75 48/64.00
ข้อมูลการคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค อ.เมืองเชียงใหม่ ปี 2561 (ร้อยละ 80) หน่วยบริการ NCD จิตเวช สุรา เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ รพ.สต.บ้านเจ็ดยอด 336 100 28 9 32.14 1 รพ.สต.บ้านท่าข้าม 257 19 3 15.79 13 23.08 รพ.สต.บ้านวังสิงห์คำ 41 36 8.33 17 5.88 รพ.สต.บ้านศรีบุญเรือง 137 11 รพ.สต.บ้านศรีบัวเงิน 127 124 97.64 5 60 4 80 รพ.สต.บ้านขะจาว 390 25 22 88 10 รพ.สต.บ้านป่าข่อยเหนือ 330 72 21.82 27 37.04 6 รพ.สต.บ้านท่าหลุก 174 62 35.63 8 75 รวม 1,792 1,419 79.19 159 67 42.14 48 64.00
การเยี่ยมบ้าน ลำดับ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน ปี 2560 ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เป้าหมาย (คน) ผลงาน (คน/ร้อยละ) 4 การเยี่ยมบ้านในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค (ร้อยละ 80) 4.1 NCD 1,835 956/52.10 1,792 415/23.16 4.2 จิตเวช 166 91/54.82 159 58/36.48 4.3 สุรา 73 31/42.47 75 7/9.33 4.4 ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย 0/0.00
ข้อมูลการเยี่ยมบ้านในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค อ ข้อมูลการเยี่ยมบ้านในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค อ.เมืองเชียงใหม่ ปี 2561 (ร้อยละ 80) หน่วยบริการ NCD จิตเวช สุรา เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ รพ.สต.บ้านเจ็ดยอด 336 24 7.14 28 9 32.14 1 100 รพ.สต.บ้านท่าข้าม 257 43 16.73 19 3 5.26 13 รพ.สต.บ้านวังสิงห์คำ 41 10 24.39 36 8.33 17 5.88 รพ.สต.บ้านศรีบุญเรือง 137 11 รพ.สต.บ้านศรีบัวเงิน 127 21 16.54 5 60.00 รพ.สต.บ้านขะจาว 390 115 29.49 25 44.00 10.00 รพ.สต.บ้านป่าข่อยเหนือ 330 53 16.06 27 37.04 6 รพ.สต.บ้านท่าหลุก 174 12 6.90 8 22 13.64 รวม 1,792 415 23.16 159 58 36.48 75 7 9.33
การเข้าถึงบริการ ผลการดำเนินงาน ลำ ตัวชี้วัด ดับ ปี 2560 เป้าหมาย (คน) ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เป้าหมาย (คน) ผลงาน (คน/ร้อยละ) 5 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ร้อยละ 50) รวมทั้งจังหวัด 30,464 32,352/70 4,572 2,853/62 6 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ร้อยละ 65) 10,596 8,579/81 1,590 2,011/126 7 ร้อยละของผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ร้อยละ 10) ไม่มีข้อมูล 21,666 1,238/6
การวิเคราะห์ปัญหา/เป้าหมาย /โอกาสในการพัฒนา ประเด็นที่ติดตาม สภาพปัญหา แนวทางพัฒนา 1. การฆ่าตัวตายสำเร็จ - รพ.สต. ไม่มีข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จ - ไตรมาสที่ 1 ปี 2561 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน - ช่วงวัยทำงานมีการฆ่าตัวตายมากที่สุด ร้อยละ 66.67 - ค้นหาภาคีเครือข่ายในพื้นที่เพื่อเป็นทีมดำเนินงานและแก้ไขต่อไป - นำเสนอข้อมูลให้กับประชาชน - ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตวัยทำงาน 2. การพยายามฆ่าตัวตายและการพยายามฆ่าตัวตายซ้ำในรอบ 1 ปี - ไม่มีรายงานผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายซ้ำในรอบ 1 ปี - เผยแพร่ความรู้เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนดูแลสุขภาพจิตตนเอง
การวิเคราะห์ปัญหา/เป้าหมาย /โอกาสในการพัฒนา (ต่อ) ประเด็นที่ติดตาม สภาพปัญหา แนวทางพัฒนา 3. การคัดกรอง - ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต สสอ./รพ.สต. ไม่เข้าใจนโยบาย และแนวทางการใช้ 2Q9Q8Q - การคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค (โรคเรื้อรัง, โรคจิต/โรคซึมเศร้า และโรคสุรา) ไม่ครอบคลุม โดยเฉพาะผู้ป่วยเรื้อรังที่ รพ. Refer กลับ รพ.สต. - มีการประชุมร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง เพื่อพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง - รพ.สต. ค้นหาและจัดทำทะเบียนผู้ป่วย 3 กลุ่มเสี่ยงให้ครบ - จัดระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรังที่สามารถควบคุมได้
การวิเคราะห์ปัญหา/เป้าหมาย/โอกาสในการพัฒนา (ต่อ) ประเด็นที่ติดตาม สภาพปัญหา แนวทางพัฒนา 4. การเยี่ยมบ้าน - การเยี่ยมบ้านในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค (โรคเรื้อรัง, โรคจิต/โรคซึมเศร้า และโรคสุรา) และผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ไม่ครอบคลุม - มีระบบฐานข้อมูลการเยี่ยมบ้านผู้ป่วย สะดวกในการใช้และเป็นปัจจุบัน - ได้รับการติดตามโดยทีมนิเทศ 5. การเข้าถึงบริการ - การวินิจฉัยโรค (โรคซึมเศร้า, โรคจิต และโรคจากสุรา) ไม่ครบถ้วน/ถูกต้อง ทำให้ข้อมูลการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต เกิน ร้อยละ 100 - มีข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาการเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ที่เกิน ร้อยละ 100 - ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต สสอ./รพ.สต. รับทราบปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหา
RB 8 แพทย์แผนไทย แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) RF 8.1 -ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
RB 9 DHS/ HA/ ปฐมภูมิ 1. DHS : ประเมินตนเอง UCCARE 3.5 2. รพสต.ทั้ง 8 แห่ง ต้องพัฒนาตนเองให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยการนำเกณฑ์มาตรฐาน รพสต.ติดดาว มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และวางแผนพัฒนาร่วมกัน อำเภอ PCC รพ.สต.แม่ข่าย รพ.สต.ในเครือข่าย เมืองเชียงใหม่ 1. PCC รพ.สต.บ้านขะจาว รพ.สต.บ้านศรีบัวเงิน รพ.สต.บ้านศรีบุญเรือง รพ.สต.บ้านป่าข่อยเหนือ รพ.สต.บ้านท่าหลุก รพสต.ติดดาว 5 ดาว รพ.สต.เจ็ดยอด ปี 2560 รพ.สต.บ้านขะจาว (ปี2561)
แผนการดำเนินงาน DHS BOARD อำเภอเมืองเชียงใหม่ Essential Task ปี 2561 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board:DHB) 2. มีการชี้แจงสร้างความเข้าใจ การดำเนินงาน DHB 3. มีการประเมินตนเอง โดยใช้ แนวทางการพัฒนา DHS –PCA มีแผนการดำเนินงานที่เชื่อมโยงระบบ บริการปฐมภูมิ และบูรณาการ ร่วมกับการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) และบูรณาการ 5 กลุ่มวัย มีระบบบริหารจัดการ / กลไกการ แก้ไขปัญหาสุขภาพของแต่ละพื้นที่ ตามบริบท ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง / อำเภอและ 1 เรื่อง/ ตำบล มีการประชุมติดตาม ประเมินผลและสรุปบทเรียน การดำเนินงาน DHS และวางแผนพัฒนาในปี 2562 ต่อไป
RB 10 บริหาร/ เงิน/ คน/ กฎหมาย/ IT ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาของจังหวัด RF 10.1 RF 10.2 -สาเหตุการเสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุ >=25 (ไมมี) -เกณฑ์คุณภาพข้อมูล (เวชระเบียน) >= 75
RB 10 บริหาร/ เงิน/ คน/ กฎหมาย/ IT ตัวชี้วัดที่เป็นปัญหาของจังหวัด RF 10.2 -เกณฑ์คุณภาพข้อมูล (รหัส ICD 10)) >75
ข้อเสนอแนะ