วิวัฒนาการ ทฤษฎีการบริหาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐประศาสน ศาสตร์. โครงสร้างและอำนาจ หน้าที่ ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ บุคลากร กระบวนการ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
องค์การและการจัดการ Organization and Management
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร
การบริหารจัดการองค์การ
บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ.
แนวคิดทางการจัดการ.
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการ ทฤษฎีการบริหาร

(Management or Method) เครื่องจักร (Machine) ทรัพยากรทางการบริหาร คน (Man) เงิน (Money) วัสดุ (Materials) วิธีการบริหาร (Management or Method) เครื่องจักร (Machine) ตลาด (Market)

กระบวนการทางการบริหาร ทรัพยากร ทางการบริหาร - คน - เงิน - วัสดุ - วิธีการ - เครื่องจักร การจัดองค์การ การวางแผน เป้าหมายขององค์การ การจัดคนเข้าทำงาน การควบคุม การสั่งการ กระบวนการทางการบริหาร

วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร

วิวัฒนาการของทฤษฎีทางการบริหาร 1890 1900 1910 1920 1930 1940 1950 1960 1970 ปัจจุบัน ทัศนะดั้งเดิม ทัศนะเชิงพฤติกรรม ทัศนะเชิงปริมาณ ทัศนะร่วมสมัย นักพฤติกรรม ระยะแรก การบริหารเชิง วิทยาศาสตร์ การบริหาร ศาสตร์ ทฤษฎีเชิง ระบบ การศึกษา ที่ฮอว์ธอร์น การบริหารเชิง บริหาร การบริหาร ปฏิบัติการ ทฤษฎีตาม สถานการณ์ ความเคลื่อนไหว เชิงมนุษยสัมพันธ์ การบริหารแบบ ราชการ สารสนเทศ การบริหาร ทัศนะที่เกิด ขึ้นใหม่ หลักพฤติ กรรมศาสตร์

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory เกิดขึ้นระหว่างต้นศตวรรษที่ 19 เมื่อการจัดการผลิตด้วยบุคคล เกิดปัญหาการทำงานไม่เต็มศักยภาพ ภายใต้ความสลับซับซ้อนของโรงงาน

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory 1. ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) หลักการสำคัญ 1.1 ใช้วิธีการเชิงวิทยาศาสตร์มากำหนดวิธีการในการทำงาน จนเกิดthe One best way(การกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด) 1.2 มีการวางแผนเพื่อแทนการปล่อยคนงานกำหนดวิธีเอง 1.3 ให้คัดเลือกคนงานที่มีความสามารถในการฝึกอบรม และพัฒนาให้มีการทำงานร่วมกัน 1.4 ใช้หลักการแบ่งงานกันทำ การจัดการแบบนี้เรียกว่า Time and motion study

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory นักบริหารที่สำคัญ 1. Frederick W. Taylor (บิดาแห่งการจัดการวิทยาศาสตร์) 2. Henry Gantt (Gantt Chart) 3. Frank and Lillian Gilbreth ( วิเคราะห์งาน ขจัดข้อเสีย)

การบริหารแบบมีหลักเกณฑ์ Frederick W. Taylor การบริหารแบบมีหลักเกณฑ์ แก้ไขการทำงานไม่เต็มศักยภาพได้ด้วยการออกแบบงานและจัดแรงจูงใจใหม่ การออกแบบงาน กำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุดแทนการลองผิดลองถูก มีการวางแผนแทนการเลือกทำแบบตัวใครตัวมัน มีการคัดเลือกคน ฝึกอบรม และพัฒนาการทำงานร่วมกัน ใช้หลัก One Best Way แบ่งการทำงานระหว่างผู้บริหารและคนงาน

การจัดระบบสิ่งจูงใจ หลัก One Best Way Time and Motion Study วิเคราะห์สายพานการทำงาน แยกงานเป็นส่วนๆ และกำจัดส่วนที่ไม่จำเป็น กำหนดวิธีการทำงานที่ ลดเวลา ลดค่าใช้จ่าย ลดแรงงานการผลิต แต่ยังได้ผลผลิตตามมาตรฐานที่กำหนด ปัญหาความเครียดจากงานที่เฉพาะเกินไป เบื่อ คุณภาพงานต่ำ ขาดงาน ลาออก การจัดระบบสิ่งจูงใจ จูงใจด้วยเงิน หากคนงานทำงานเกินมาตรฐาน เขาก็ควรได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม สนองความต้องการทางกายภาพ และเศรษฐกิจ มากกว่าสังคม

Frank & Lilian Gilbreth ขจัดส่วนไม่จำเป็นออกจากระบบ หาวิธีลดความเหนื่อยล้าในการทำงาน Lilian 1878-1972 เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน วิเคราะห์องค์ประกอบของงานเพื่อกำจัดส่วนที่ไม่จำเป็นออก สังเคราะห์องค์ประกอบที่จำเป็นเข้าด้วยกันใหม่

Henry Gantt 1861-1919 เป็นผู้ช่วยของ Frederick W. Taylor เน้นการสร้างแรงจูงใจด้วยเงิน หากคนงานทำงานเกินมาตรฐาน หัวหน้าคนงานก็ควรได้รับค่าตอบแทนเพิ่ม

ตัวอย่างตาราง Gantt Chart

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory 2. ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร (Administrative Management ) หลักการสำคัญ เป็นการทำงานเป็นระบบแบบเครื่องจักรกล

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory นักบริหารที่สำคัญ 1. Henry Fayol หลักการสำคัญ คือ 1) หลักการแบ่งงานกันทำตามความถนัด (Division of work) 2) หลักการอำนาจบังคับ (Authority) 3) หลักการระเบียบวินัยการเคารพกฎกติกา (Discipline) 4) หลักการเอกภาพการบังคับบัญชา (Unity of Command) 5) หลักการเอกภาพในทิศทาง (Unity of direction) 6) หลักผลประโยชน์ส่วนรวมก่อนส่วนตัว (Subordination of individual interest to general interest) 7) หลักความยุติธรรมต่อนายจ้างและลูกจ้าง (Remuneration)

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory 8) หลักการรวมอำนาจไว้ส่วนกลาง (Centralization) 9) หลักการสายบังคับบัญชา (Hierarchy/Scalar chain) 10) หลักการเป็นระเบียบแบบแผน (Order) ต่อการทำงาน 11) หลักความเสมอภาค (Equity) 12) หลักความมั่นคงในงาน (Stability of staff) 13) หลักความคิดริเริ่ม (Initiative) 14) หลักความสามัคคี ( Espirity de corps)

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory นักบริหารที่สำคัญ 2. Chester I. Bernard หลักการสำคัญ คือ (PODCC) 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองค์กร (Organizing) 3) การสั่งการ (Directing) 4) การประสานงาน (Coordinating) 5) การควบคุมงาน (Controlling)

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory นักบริหารที่สำคัญ 3. Luther Gulick หลักการสำคัญ คือ (POSDCORB) 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองค์กร (Organizing) 3) การจัดทีมคน (Staffing) 4) การสั่งการ (Directing) 5) การประสานงาน (Coordinating) 6) การรายงาน (Reporting) 7) การจัดงบประมาณ (Budgeting)

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory นักบริหารที่สำคัญ 1. Henry Fayol กำหนดหน้าที่ เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย-จัดกลุ่มงานลดค่าใช้จ่าย 2.Chester I Barnard (PODCC) -วางแผน -จัดองค์การ -การสั่งการ -การประสานงาน - การควบคุม Luther Gulick (POSDCORB) www.themegallery.com

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory 3. ทฤษฎีการบริหารแบบราชการ (Bureaucratic Management) www.themegallery.com

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory หลักการสำคัญ 3.1 หลักการมีกฎระเบียบข้อบังคับ เพื่อควบคุมการตัดสินใจ (rules and regulation) 3.2 หลักความไม่เป็นส่วนตัว ( Impersonal) ผู้บริหารต้องไม่ทำตามอำเภอใจ 3.3 หลักการแบ่งงานกันทำตามความถนัด (Division of Labour)

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory 3.4 หลักโครงสร้างสายบังคับบัญชา (Hierarchical Structure) 3.5 หลักอาชีพที่มั่นคง (Life – long Career) 3.6 หลักอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจภายใต้กฎรองรับ (Authority) 3.7 หลักความเป็นเหตุผล เพื่อตัดสินใจให้บรรลุเป้าหมาย (Rationalist)

ยุคทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม Classical Organizational Theory นักบริหารสำคัญ 1. Max Weber

Max Weber 1864-1920 นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน เสนอแนวคิด “ระบบราชการเชิงอุดมคติ” (Ideal Bureaucracy) เน้นประสิทธิภาพสูง ซึ่งก่อผลทางลบตามมา เคร่งครัดมาก ไม่ยืดหยุ่น ล่าช้า หวงอำนาจ ตัดสินใจช้า ก้าวไม่ทันความเปลี่ยนแปลงทางค่านิยมและเทคโนโลยี ชิงดีชิงเด่นทางตำแหน่ง เอาใจผู้บริหารมากกว่าผู้รับบริการ สร้างอาณาจักร ขาดการประสานงาน ขาดความคิดสร้างสรรค์ ทำแค่เอาตัวรอด

ความเหมือนกันของทฤษฎีการบริหารทัศนะดั้งเดิมทั้ง 3 โครงสร้าง ที่เน้นการแบ่งงาน สายบังคับบัญชา หน้าที่ หลักการ ผู้ปฏิบัติ เป็นเครื่องมือในการผลิต เน้นแรงจูงใจทางเศรษฐกิจ ความเป็นผู้นำ นำเดี่ยว เน้นเป้าขององค์การมากกว่าผู้ปฏิบัติ การตัดสินใจ เน้นเหตุผล ประสิทธิภาพ และกำไรทางเศรษฐกิจ

ความแตกต่างของทฤษฎีการบริหารทัศนะดั้งเดิมทั้ง 3 Taylor มุ่งการศึกษาคนงานแล้วค่อยหาวิธีที่ดีที่สุด Fayol มุ่งการกำหนดหลักให้ก่อนแล้วนำไปปฏิบัติ Weber มุ่งสร้างพิมพ์เขียวของหลักการหรือสิ่งที่องค์การควรจะทำ เน้นกฎระเบียบข้อบังคับ การกำหนดหน้าที่ให้ชัดเจนเพื่อการประเมินผลและการตอบแทนที่ยุติธรรม

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory พยายามสร้างความเข้าใจแรงขับภายในและปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อการทำงาน นักพฤติกรรมระยะเริ่มแรก (Early Behaviorists) Hugo Munsterberg Mary Parker Follett การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies) Elton Mayo การเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Movement) Abraham Maslow Douglas McGregor หลักพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach)

1. นักพฤติกรรมระยะเริ่มแรก (Early Behaviorists) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 1. นักพฤติกรรมระยะเริ่มแรก (Early Behaviorists) Hugo Munsterberg 1863-1916 นักจิตวิทยาและการแพทย์ชาวเยอรมัน บิดาแห่งจิตวิทยาอุตสาหกรรม ทำการทดลองเชิงจิตวิทยากับวงการอุตสาหกรรม: ใช้หลักบริหารทางวิทยาศาสตร์มาช่วยวิเคราะห์และจำแนกคนให้เหมาะสมกับงาน ใช้หลักบริหารทางวิทยาศาสตร์มาช่วยศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทำงาน ศึกษาหาวิธีที่ทำให้คนงานมีพฤติกรรมสอดคล้องกับเป้าหมายองค์การ

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory Mary Parker Follett 1868-1933 นักรัฐ-สังคมศาสตร์ชาวอเมริกัน สนใจการจ้างงานและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เน้นอิทธิพลกลุ่มต่อการทำงานในองค์การ เน้นการมีอำนาจร่วมกัน มากกว่าการมีอำนาจเหนือกัน เน้นการบูรณาการปัญหาร่วมกันระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ

2. การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 2. การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies) การศึกษาการปฏิบัติงานของโรงงานฮอว์ธอร์น ของ Western Electric Company ที่ Chicago ช่วงปลาย1920s - ต้น1930s โดย Elton Mayo ชาวออสเตรเลีย เพื่อการปรับปรุงเครื่องมือและวิธีการทำงานตามทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์ ศึกษา 3 ครั้ง แสงสว่างกับประสิทธิภาพการทำงาน- ไม่มีผลโดยตรง เพิ่มปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ- ไม่พบความสัมพันธ์ สังเกตกลุ่มทางสังคม- อิทธิพลกลุ่มแบบไม่เป็นทางการ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม- แรงจูงใจทางสังคมแทนความเป็นมนุษย์เศรษฐกิจ

3. ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Movement) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 3. ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Movement) ปัจจัยทางสังคมมีผลต่อพฤติกรรมการทำงาน ความพึงพอใจมากขึ้นผลผลิตก็จะสูงขึ้น Abraham Maslow 1908-1970 นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน แรงจูงใจมาจากธรรมชาติของมนุษย์ มีความต้องการที่ไม่สิ้นสุด กระทำเพื่อเติมเต็มความต้องการที่ยังไม่พอใจ ความต้องการมีลำดับขั้น คนงานมีความต้องการอื่นๆ นอกเหนือจากเงิน

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ Maslow’s Hierarchy of Needs

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ Maslow’s Hierarchy of Needs

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 3. ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Movement) Douglas McGregor 1906-1964 นักบริหารอุตสาหกรรมชาวอเมริกัน ตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับทัศนะของผู้บริหารต่อคนงาน ทฤษฎี X และ Y ทฤษฎี X คนไม่ชอบทำงาน หลีกเลี่ยงงาน คนต้องการให้บังคับ ควบคุม ขู่เข็ญ ลงโทษให้บรรลุเป้าหมาย คนไม่รับผิดชอบ ไม่มีความทะเยอทะยาน แต่อยากมั่นคง

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 3. ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relation Movement) ทฤษฎี Y คนไม่ชอบทำงานโดยสันดาน แต่พยายามทำให้เป็นธรรมชาติ คนควบคุมตนเองให้บรรลุเป้าหมายที่ตนผูกพันได้ ความผูกพันกับเป้าหมายขึ้นอยู่กับรางวัล โดยเฉพาะการตอบสนองความต้องการระดับสูง คนแสวงหาความรู้นอกเหนือจากความรับผิดชอบ คนแสดงความคิดสร้างสรรค์เพื่อการแก้ปัญหา คนยังใช้ศักยภาพทางสติปัญญาไม่เต็มที่

การจัดการบุคคลของทฤษฎี X พนักงานต้องการทำงานให้น้อยที่สุด ดังนั้น ผู้จัดการต้องควบคุม สั่งการ จูงใจ ให้รางวัล หรือลงโทษเพื่อให้บุคคลทำงานบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ พนักงานมีความทะเยอทะยานน้อยและไม่ชอบความรับผิดชอบ โดยทั่วไปพนักงานจะต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

การจัดการบุคคลของทฤษฎี Y โดยธรรมชาติพนักงานชอบการทำงาน พนักงานมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาและบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ พนักงานมีความรับผิดชอบ พนักงานมีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง

4. หลักพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 4. หลักพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) เน้นการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ นำไปทดลองก่อนการใช้ในการบริหาร มีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง และวัด ประเมินได้

ยุคการบริหารทัศนะเชิงปริมาณ (Quantitative Organizational Theory เกิดในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกลุ่มนักวิชาการชาวอังกฤษ เป็นทีมนักวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาสงคราม ใช้คณิตศาสตร์ สถิติ และข้อมูลสารสนเทศ ในการบริหารและปฏิบัติงานขององค์การ หลักการที่สำคัญ: การบริหารศาสตร์ (Management Science) การบริหารปฏิบัติการ (Operations Management) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

1. การบริหารศาสตร์ (Management Science) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 1. การบริหารศาสตร์ (Management Science) มุ่งเพิ่มประสิทธิผลในการตัดสินใจ ใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์และวิธีการเชิงสถิติ แพร่หลายอย่างรวดเร็ว วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างซับซ้อนมากขึ้น

2. การบริหารปฏิบัติการ (Operations Management) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 2. การบริหารปฏิบัติการ (Operations Management) เน้นการบริหารกระบวนการผลิต เน้นการให้บริการขององค์การให้มีประสิทธิภาพโดย: กำหนดตารางการทำงาน วางแผนการผลิต ออกแบบอาคารสถานที่ การประกันคุณภาพ

3. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะเชิงพฤติกรรม Behavioral Organizational Theory 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) เน้นการออกแบบและการนำระบบสารสนเทศมาใช้กับการบริหาร เช่น การสร้างระบบฐานข้อมูลทางวิชาการ บุคลากร งบประมาณ เป็นต้น

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) การบริหารตามทฤษฎีเชิงระบบ (System Theory) ประกอบด้วย ระบบเปิด และ ระบบปิด

ทัศนะวิธีการเชิงระบบ ระบบในเชิงบริหาร หมายถึง องค์ประกอบหรือปัจจัย ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันและมีส่วนกระทบต่อปัจจัยระหว่างกัน ในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

ระบบองค์การจะดำเนินอยู่บนพื้นฐานของส่วนประกอบ 5 ส่วน คือ ระบบองค์การจะดำเนินอยู่บนพื้นฐานของส่วนประกอบ 5 ส่วน คือ 1. ปัจจัยนำเข้า (Input) 2. กระบวนการเปลี่ยนแปลง (Transformation process) 3. ปัจจัยส่งออก (Outputs) 4. สิ่งป้อนกลับ (Feedback) 5. สภาพแวดล้อม (External environment)

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) 2. ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ (Contingency Theory) ไม่มีหลักการบริหารสำเร็จรูปที่ใช้ได้กับทุกสถานการณ์ ต้องคำนึงถึงความเหมาะสมในการตัดสินใจดำเนินงานภายใต้สถานการณ์ต่างๆให้สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรและความพึงพอใจของพนักงาน

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) 3. ทัศนะที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging Views) ทฤษฎี Z การบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM) การบริหารงานแบบเน้นวัตถุประสงค์ (MBO) การปรับรื้อระบบ (Reengineering)

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) การบริหารแบบญี่ปุ่น โดย William Ouchi เน้นความมั่นคงในการทำงาน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ รับผิดชอบเป็นปัจเจกบุคคล เพิ่มคุณภาพ ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ควบคุมแบบไม่เป็นทางการ เปิดโอกาสกว้าง มีคุณภาพชีวิตที่ทำงานและครอบครัว

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) ทฤษฎีการบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM) เริ่มโดย W. Edwards Deming ในอเมริกา มุ่งรับผิดชอบการผลิตหรือการให้บริการที่มีคุณภาพร่วมกัน แต่ละฝ่ายมุ่งพัฒนาคุณภาพของงาน เน้นการมีพันธะผูกพันกับองค์การ บูรณาการความพยายามเพื่อบรรลุจุดหมายขององค์การ มีการประเมินผลการทำงานที่เด่นชัด

วงจร “DEMING”

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) การบริหารงานแบบเน้นวัตถุประสงค์ (MBO) พัฒนาโดย Peter Drucker 1983 ทำงานและรับผิดชอบอย่างเต็มที่ มีทิศทางร่วมกันที่ชัดเจน เน้นการมีส่วนร่วม และทำงานกันเป็นทีม วัตถุประสงค์ส่วนบุคคลประสานกับส่วนองค์การ เน้นการมีข้อมูลย้อนกลับ และการปรับปรุง มีการกำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน

ยุคทฤษฎีการบริหารทัศนะร่วมสมัย (Contemporary Organizational Theory) การรื้อปรับระบบ (Re-engineering) สร้างใหม่ เริ่มต้นใหม่โดยเน้นไปที่กระบวนการทำงานขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ไม่ใช่การปรับโครงสร้าง ลดขนาด ใช้คอมพิวเตอร์หรือจัดองค์การใหม่ เกิดขึ้นได้ทุกเมื่อแม้ไม่มีปัญหา เช่น เพื่อการแข่งขัน

สวัสดีค่ะ