งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร

2 ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์(1910-1935)
(The Scienctific Management Point of View) ทัศนะเชิงมนุษย์สัมพันธ์ ( ) (The Human Relationship Point of View) ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์( ) (The Behavioral Scienc Point of Veiw) ทัศนะวิธีเชิงระบบ(1970-ปัจจุบัน) (The Systems Approach Point of View)

3 1. ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
Federic W. Taylor(1942) 1. ความเป็นเลิศของการบริหารอยู่ที่กี่รู้อย่างแน่นอนว่า เราต้องการให้คนทำอะไร และดูแลว่าเขาได้ทำงานอย่างดีที่สุดและประหยัดค่าใช้จ่ายที่สุด 2. ไม่ควรนำแผนการบริหาร ซึ่งในระยะยาว ก่อให้เกิดความไม่พอใจทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างมาใช้

4 3. สิ่งที่คนงานต้องการจากนายจ้างนอกเหนือจากสิ่งอื่นๆก็คือค่าจ้างที่สูง และสิ่งที่นายจ้างต้องการจากคนงานมากที่สุดก็คือ ค่าใช้จ่ายในการผลิตต่ำ

5 หลักการบริหารของ Talor
1. หลักเรื่องเวลา (Time – Study Principle) ถือว่า การวัดความสามารถในการผลิตโดยการจับเวลาในการผลิต และการตั้งเวลามาตรฐานสำหรับการผลิตทั้งหมด 2. หลักการกำหนดหน่วยค่าจ้าง (Price-Rate Priciple)ถือว่าอัตราค่าจ้างควรตั้งอยู่บนฐานที่ได้กำหนดโดยเวลาตามหลักข้อ 1 กล่าวคือ ค่าจ้างควรจะได้สัดส่วนกับความสามารถในการผลิตของแต่ละคน

6 3. หลักการแยกงานวางแผนออกจากการปฏิบัติ (Seperation of Planning from Performance Principle) ฝ่ายวางแผนและฝ่ายปฏิบัติการควรแยกออกจากกัน 4. หลักการทำงานโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientivic – Methods of Work Principle) หลักการทำงานควรตั้งอยู่บนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และฝ่ายบริหารควรดำฝึกอบรมให้แก่คนงาน โดยให้คนงานปรับตัวในการทำงานที่อาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้ผลผลิตสูง

7 5.หลักการควบคุมโดยฝ่ายบริหาร(Managerial Control Principle) ฝ่ายบริหารควรได้รับการอบรมในด้านการบริหารโดยอาศัยหลักการของวิทยาศาสตร์ 6. หลักการจัดระเบียบการปฏิบัติงาน(The Functional Management Principle)

8 หลักการบริหารของ Fayol
มีองค์ประกอบดังนี้ การวางแผนงาน(To Plan) หมายถึงการวิเคราะห์อนาคตและจัดวางแผนปฏิบัติงานล่วงหน้า การจัดหน่วยงาน(To Organize) หมายถึงการเสริมสร้างองค์การด้านคนและวัสดุสิ่งของ เพื่อการปฏิบัติการตามแผน การบังคับบัญชา(To Command) หมายถึงการควบคุมบังคับบัญชาให้คนงานปฏิบัติงานตามหน้าที่

9 4. การประสานงาน (To Coordinate) หมายถึงการประสานกิจกรรมต่างๆของหน่วยงานให้ดำเนินไปตามเป้าหมาย
5. การควบคุม (To Control) หมายถึงการควบคุมดูแลให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎเกณฑ์

10 กูลิค(Gulik, 1937:50) มีความเห็นว่าหลักการบริหารควรประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้ P-Planning หมายถึง การวางแผน O-Organizing หมายถึง การจัดองค์การ S-Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน D-Directing หมายถึง การสั่งการ Co-Co-ordinating หมายถึง ความร่วมมือ R-Reporting หมายถึง การรายงาน B-Budgeting หมายถึง งบประมาณ

11 2.ทัศนะเชิงมนุษยสัมพันธ์
ฟอลเล็ตต์ (Follett , 1924:77) ไม่เห็นด้วยกับการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ กล่าวว่าปัญหาของการบริหารขององค์การใดๆรวมถึงโรงเรียนจะต้องมองไปที่มนุษยสัมพันธ์

12 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
การแก้ไขความแตกต่างสามารถกระทำได้โดยผ่านทางการประชุมและความร่วมมือมากกว่าจะใช้กฎระเบียบที่เคร่งครัด แนวทางความคิดของแต่ละกลุ่มสามารถสร้างขึ้นจากข้อเท็จจริงของสถานการณ์ กลุ่มคนแต่ละกลุ่มจะต้องเข้าใจทัศนะซึ่งกันและกัน กลุ่มคนใดในองค์การใดๆ จะมีเป้าหมายร่วนกันและดำเนินงานด้วยความสามัคคี เพื่อให้เป้าหมายนั้นประสบกับความสำเร็จ

13 หลักความร่วมมือ แต่ละแผนกขององค์การใดๆ จะต้องมีความร่วมมือในแนวราบ(Horizontal) แทนที่จะเป็นความร่วมมือในแนวตั้ง(Vertical Co-Ordination) โดยผ่านทางผู้บริหารสูงสุดขององค์การนั้นๆ ความร่วมมือจะต้องมีทั้งในขั้นวางแผนและขั้นนำแผนออกปฏิบัติ ความร่วมมือไม่ใช่ทำเป็นครั้งคราว แต่จะต้องทำอย่างต่อเนื่อง

14 การประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
อาจารย์ใหญ่ควรสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีกับครูเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ปัญหาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งในเบื้องต้นไม่ค่อยมีความสำคัญแต่ต่อมาได้รับการยอมรับมากขึ้น อาจารย์ใหญ่สามารถสร้างภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยได้มากกว่าเพราะตำแหน่งเอื้ออำนวยให้

15 4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสังคมที่ซับซ้อน อาจารย์ใหญ่จะต้องร่วมงานกับครูเหล่านี้ด้วยความระมัดระวัง
5. ครูและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนต่อการตัดสินใจควรจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจนั้นด้วย

16 3.ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์
ประสิทธิภาพกับการบริหาร การบริหารที่ต้องการให้งานขององค์การดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพต้องมีทางเลือกในการแก้ปัญหา(Alternative)หลายๆทางและควรเลือกทางในการแกปัญหาที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่สามารถทำงานบรรลุผล

17 สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อประสิทธิภาพการทำงานที่ควรกำจัด
1. การจำกัดความสามารถในการทำงานของคน 2. การจำกัดความสามารถในการตัดสินใจที่ถูกต้อง 3. กระบวนการต่างๆที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน

18 การประยุกต์ใช้พฤติกรรมศาสตร์ในการบริหารการศึกษา
การบริหารประกอบด้วยความรู้เฉพาะ(Specialised Knowledge) ทักษะและความเข้าใจ การดำเนินการบริหาร โดยยึดทัศนะความจริงขององค์การที่ดำเนินอยู่ในปัจจุบัน

19 3. พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของการบริหารอยู่ในพฤติกรรมศาสตร์ดังนั้นความเข้าใจในจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และการเมืองจึงเป็นสิ่งจำเป็นในการเข้าใจธรรมชาติที่เป็นจริง 4. การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการบริหารการศึกษาและเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ(Innovation) เป็นสิ่งจำเป็นอย่างรีบด่วน

20 4.ทัศนะวิธีการเชิงระบบ
การดำเนินงานตามวิธีการของ Systems Approaches ค้นหาสาเหตุของความจำเป็น ตรวจสอบดูสาเหตุของความจำเป็น ตั้งมาตรการในการดำเนินโครงการ

21 4. วางแผนให้สอดคล้องกับโครงการ
5. ตรวจสอบความสำเร็จตามขั้นตอนนั้น 6. หาวิธีการแก้ไขปัญหาแต่เนิ่นๆ

22 7.ใช้วิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
8.อบรมบุคลากรต่างๆ 9.สร้างมาตรฐานการวัดผล


ดาวน์โหลด ppt วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google