ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน
นวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เกม เรื่อง ลองคิดดู...ต้นทุนคืออะไร?
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การจัดประเภทสินทรัพย์ทางบัญชีในงบการเงิน
1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
สัญญาก่อสร้าง.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบต้นทุนปกติ และ บัญชีต้นทุนงานสั่งทำ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
บทที่ 7 งบประมาณ.
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
Principles of Accounting II
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
วัสดุคงเหลือ.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
กลุ่มเกษตรกร.
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
Business Finance FI 212 Lectured By ญาลดา พรประเสริฐ.
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
สรุปวิธีการบันทึกค่าเสื่อมราคาสำหรับปีงบประมาณ 2549
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบ Assets Liabilities Equity 701211 Cost Accounting Chapter 2 ระบบบัญชีต้นทุนและการจัดทำงบ ผศ.ดร.มนทิพย์ ตั้งเอกจิต และ อ.ดร.เอื้อบุญ เอกะสิงห์ ภาควิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

01 02 03 ธุรกิจบริการ (Service Business) ธุรกิจการค้า (Trading Business) 03 ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business)

ธุรกิจบริการ (Service Business) 1 ธุรกิจบริการ (Service Business) Business Type ธุรกิจที่มีวัตถุประสงค์ในการให้บริการลูกค้าเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ ตัวอย่างเช่น ธุรกิจโรงแรม การบิน ธนาคาร สำนักงานบัญชี สำนักงานกฎหมาย บริษัทโฆษณา เป็นต้น การคิดต้นทุนการให้บริการทั้งหมดที่เกิดขึ้นและจะทำการจำแนกต้นทุนของธุรกิจการบริการออกได้ดังนี้

ต้นทุน ต้นทุนตามงวดเวลา สินทรัพย์ (Assets) (Period Cost) ณ วันที่เกิดรายการ ต้นทุนนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ในงวดบัญชีถัดไปหรือในอนาคตหรือไม่ ณ วันสิ้นงวด รายการสินทรัพย์นั้นให้ประโยชน์ในงวดบัญชีปัจจุบันหรือไม่หรือหมดประโยชน์ในอนาคตแล้วใช่หรือไม่ Yes No

รูปแบบงบกำไรขาดทุนของธุรกิจบริการ 1 รูปแบบงบกำไรขาดทุนของธุรกิจบริการ Business Type รายได้ รายได้ค่าบริการ รายได้อื่นๆ หัก ค่าใช้จ่าย: เงินเดือน ค่าเช่า วัสดุสำนักงานใช้ไป ค่าใช้จ่ายในการติดต่อลูกค้า ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคา-เครื่องใช้ ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด กำไรจากการดำเนินงาน 2,500,000 200,000 500,000 120,000 50,000 30,000 15,000 100,000 10,000 2,700,000 (825,000) 1,875,000

ธุรกิจการค้า (Trading Business) 2 ธุรกิจการค้า (Trading Business) Business Type ธุรกิจที่มีวัตถุประสงค์ในการซื้อ-ขายสินค้า โดยจะทำการจัดหาสินค้ามาและจะทำการขายสินค้านั้นไป โดยไม่ทำการเปลี่ยนสภาพของสินค้านั้น เช่น ห้างสรรพสินค้า ธุรกิจการค้าปลีก ธุรกิจการค้าส่ง เป็นต้น การคิดต้นทุนจะมีการรวบรวมต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นและจะทำการจำแนกต้นทุนของธุรกิจการค้าออกดังนี้

ต้นทุน ต้นทุนตามงวดเวลา สินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินค้าที่อยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ต้นทุนตามงวดเวลา (Period Cost) ณ วันที่เกิดรายการ ต้นทุนนั้นก่อให้เกิดประโยชน์ในงวดบัญชีถัดไปหรือในอนาคตหรือไม่ ณ วันสิ้นงวด รายการสินทรัพย์นั้นให้ประโยชน์ในงวดบัญชีปัจจุบันหรือไม่หรือหมดประโยชน์ในอนาคตแล้วใช่หรือไม่ Yes No เกี่ยวกับการจัดหาสินค้าหรือไม่ รายการ “สินค้า” ในงบแสดงฐานะการเงิน เมื่อมีการขายเกิดขึ้น

รูปแบบงบกำไรขาดทุนของธุรกิจการค้า 2 รูปแบบงบกำไรขาดทุนของธุรกิจการค้า Business Type ขาย หัก ต้นทุนขาย: สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อสุทธิ ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย หัก สินค้าปลายงวด กำไรขั้นต้น หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน 190,000 2,200,000 2,390,000 260,000 3,000,000 (2,130,000) 870,000 (630,000) 240,000

ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business) 3 ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business) Business Type ธุรกิจที่มีวัตถุประสงค์ในการแปรรูปวัตถุดิบให้เป็นสินค้า โดยจะมีการจัดหาวัตถุดิบ แรงงาน จัดตั้งโรงงาน ติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ จัดหาสาธารณูปโภคต่างๆ เป็นการล่วงหน้า ในกิจการที่เป็นอุตสาหกรรมการผลิต จะมีบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการบันทึกรายการเคลื่อนไหวต่างๆ ตามแผนผังการผลิตสินค้า คือ - บัญชีวัตถุดิบ (Materials) - บัญชีค่าแรง (Payroll) - บัญชีค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead) - บัญชีสินค้าระหว่างผลิตหรืองานระหว่างทำ (Work in Process) - บัญชีสินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods)

Manufacturing Business Flow ปัจจัยการผลิต กระบวนการผลิต คลังสินค้า ลูกค้า (ร้านค้า) Materials 1 2 3 Labor Overhead งานระหว่างทำ Work in process สินค้าสำเร็จรูป Finished goods ขาย Sales

ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business) 3 ธุรกิจการผลิต (Manufacturing Business) Business Type สินค้าคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดบัญชีของกิจการผลิตประกอบด้วย 1. วัตถุดิบ (Materials Inventories) 2. สินค้าระหว่างผลิต (Goods in Process Inventories) หรือ งานระหว่างทำ (Work in Process) 3. สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods Inventories)

การคำนวณต้นทุนสินค้าขายของธุรกิจการผลิต Cost of Goods Sold สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด ต้นทุนสินค้าที่ผลิตในงวด สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด

รูปแบบงบกำไรขาดทุนของธุรกิจการผลิต 3 รูปแบบงบกำไรขาดทุนของธุรกิจการผลิต Business Type ขายสินค้า หัก ต้นทุนขาย: สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด บวก ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป (ดูงบต้นทุนการผลิต) ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย หัก สินค้าปลายงวด กำไรขั้นต้น หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน 550,000 2,600,00 3,150,000 450,000 5,250,000 (2,700,000) 2,550,000 (700,000) 1,850,000

รูปแบบงบต้นทุนการผลิตของธุรกิจการผลิต 3 รูปแบบงบต้นทุนการผลิตของธุรกิจการผลิต Business Type วัตถุดิบทางตรงใช้ไป : วัตถุดิบทางตรงต้นงวด บวก ซื้อวัตถุดิบ ต้นทุนวัตถุดิบมีไว้เพื่อใช้ หัก วัตถุดิบทางตรงปลายงวด ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายโรงงาน เงินเดือนและค่าแรงทางอ้อม วัสดุโรงงาน ค่าเสื่อมราคา-อาคารโรงงาน ค่าเสื่อราคา-เครื่องจักรและอุปกรณ์ ค่าสาธารณูปโภค รวมต้นทุนการผลิตในแต่ละงวด บวก งานระหว่างทำต้นงวด รวม หัก งานระหว่างทำปลายงวด ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป 275,000 1,825,000 2,100,000 200,000 100,000 25,000 51,250 37,500 67,500 1,900,000 443,750 281,250 2,625,000 150,000 2,775,000 175,000 2,600,000

ระบบบัญชีต้นทุน การวางระบบบัญชีต้นทุนของธุรกิจต้องทราบและเข้าใจถึงลักษณะกระบวนการผลิต ระบบการสะสมและการบันทึกต้นทุน ตลอดจนการวิเคราะห์ต้นทุนเพื่อจะได้ข้อมูลเพื่อจัดทำงบการเงินและนำเสนอข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจ

ลักษณะกระบวนการผลิต ลักษณะการผลิตสินค้าของธุรกิจอุตสาหกรรมนั้นสามารถจำแนกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. การผลิตสินค้าตามคำสั่งหรือการผลิตสินค้าลักษณะเฉพาะ (Job Order System) ระบบต้นทุนงาน (Job order Cost System) 2. การผลิตแบบต่อเนื่องกันไปหรือแบบกระบวนการ (Process System) สินค้าที่ผลิตทุกหน่วยจะเหมือนกัน ระบบบัญชีที่ใช้ในกิจการลักษณะนี้เรียกว่า ระบบต้นทุนตอน หรือต้นทุนช่วง หรือต้นทุนกระบวนการ (Process Cost System สินค้าที่แผนกเสร็จจากแผนกหนึ่งและสามารถโอนไปให้แผนกถัดไปผลิตต่อได้ จะไม่นับเป็นสินค้าสำเร็จรูปจนกว่าสินค้าจะผ่านกระบวนการในแผนกสุดท้ายและพร้อมที่จะขายได้ จึงเรียกว่าสินค้าสำเร็จรูป

วิธีคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ 1. ระบบต้นทุนเต็มหรือระบบการคิดต้นทุนคิดเข้างาน (Full Costing หรือ Absorption Costing) ต้นทุนผลิตภัณฑ์ = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงทางตรง +ค่าใช้จ่ายโรงงานคงที่ + ค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร 2. ระบบต้นทุนตรงหรือต้นทุนผันแปร (Direct Costing หรือ Variable Costing) ต้นทุนผลิตภัณฑ์ = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงทางตรง + ค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร

1. ระบบการสะสมและบันทึกต้นทุนแบบสิ้นงวด (Periodic Cost System) ระบบการสะสมและการบันทึกต้นทุน 1. ระบบการสะสมและบันทึกต้นทุนแบบสิ้นงวด (Periodic Cost System) 2. ระบบการสะสมและบันทึกต้นทุนแบบต่อเนื่อง (Perpetual Cost System)

1. ระบบการสะสมและบันทึกต้นทุนแบบสิ้นงวด (Periodic Cost System) เป็นระบบการคิดต้นทุนของสินค้าได้ก็ต่อเมื่อมีการตรวจนับสินค้าคงเหลือและปิดบัญชี เหมาะกับกิจการขนาดเล็กมีระบบการผลิตที่ไม่ซับซ้อน หรือกิจการที่ต้องการข้อมูลเพื่อการจัดทำงบการเงินเท่านั้น ข้อดี มีความสะดวก ไม่ยุ่งยาก ข้อเสีย ผู้บริหารจะมีข้อมูลต้นทุนเพื่อตัดสินใจอยู่ในเกณฑ์ต่ำ

การบันทึกรายการแบบ Periodic บันทึกการซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าแรงและค่าใช้จ่าย Dr. ซื้อ (Purchase) ค่าแรงเงินเดือนโรงงาน (Factory Salaries and Wages) คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) Cr. เงินสด (Cash)

การบันทึกรายการแบบ Periodic บันทึกการปิดบัญชี ซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าแรงและค่าใช้จ่าย Dr. ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป (Cost of Goods Manufactured) วัตถุดิบปลายงวด (Ending materials) งานระหว่างทำปลายงวด (Ending work in process) Cr. วัตถุดิบต้นงวด (Beginning materials) งานระหว่างทำต้นงวด (Beginning work in process) ซื้อ (Purchase) ค่าแรงเงินเดือนโรงงาน (Factory Salaries and Wages) คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control)

การบันทึกรายการแบบ Periodic บันทึกการปิดบัญชี ซื้อวัตถุดิบ จ่ายค่าแรงและค่าใช้จ่าย Dr. สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด (Ending Finished Goods) ต้นทุนสินค้าขาย (Cost of Goods Sold) Cr. สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด (Beginning Finished Goods) ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป (Cost of Goods Manufactured)

ลักษณะความสัมพันธ์ของบัญชีแยกประเภทเมื่อใช้วิธีบันทึกต้นทุนแบบสิ้นงวด วัตถุดิบ ต้นงวด ปิดต้นงวด ปลายงวด ต้นทุนการผลิต วัตถุดิบต้นงวด วัตถุดิบปลายงวด สินค้าระหว่างทำต้นงวด สินค้าระหว่างทำปลายงวด ซื้อ ปิดบัญชี ค่าแรง ค่าใช้จ่าย สินค้าระหว่างทำ ต้นทุนสินค้าขาย สินค้าผลิตเสร็จ สินค้าเสร็จรูปปลายงวด สินค้าสำเร็จรูปต้นงวด ซื้อ ซื้อ ปิดบัญชี เกิดขึ้น ปิดบัญชี ค่าใช้จ่ายผลิตอื่นๆ สินค้าสำเร็จรูป ต้นงวด ปิดต้นงวด

2. ระบบการสะสมและบันทึกต้นทุนแบบต่อเนื่อง (Perpetual Cost System) ระบบการสะสมและบันทึกต้นทุนแบบต่อเนื่องจะใช้บัญชีสินค้าระหว่างผลิต หรือบัญชีงานระหว่างทำ แสดงถึงบัญชีแยกประเภทของสินค้าระหว่างผลิตหรืองานระหว่างทำ ซึ่งเป็นบัญชีที่ใช้รวบรวมต้นทุนต่างๆ ประกอบด้วย ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง และค่าใช้จ่ายโรงงาน และเมื่อสินค้าผ่านกระบวนการผลิตแล้วจะมีการโดนเข้าสู่บัญชีสินค้าสำเร็จรูปตามสัดส่วนของงานที่ผลิตเสร็จ

ลักษณะความสัมพันธ์ของบัญชีแยกประเภทเมื่อใช้วิธีบันทึกต้นทุนแบบต่อเนื่อง วัตถุดิบ ต้นงวด เบิกใช้ทางตรง ซื้อ เบิกใช้ทางอ้อม ค่าแรง เกิดขึ้น ค่าแรงทางตรง ค่าแรงทางอ้อม ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าแรงทางอ้อม ต้นทุนสินค้า วัตถุดับทางอ้อม และอื่นๆ สินค้าระหว่างทำ ต้นงวด ผลิตเสร็จ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง สินค้าสำเร็จรูป ต้นงวด ขายไป ผลิตได้ในงวด ต้นทุนสินค้าขาย ต้นทุนขาย

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับกระบวนการจัดหาปัจจัยการผลิต วัตถุดิบ 1. ซื้อวัตถุดิบเป็นเงินสด/เงินเชื่อ Dr. วัตถุดิบ (Materials) Cr. เงินสด/เจ้าหนี้การค้า (Cash/Accounts Payable) 2. ส่งคืนวัตถุดิบ Dr. เงินสด/เจ้าหนี้การค้า (Cash/Accounts Payable) Cr. วัตถุดิบ (Materials)

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับกระบวนการจัดหาปัจจัยการผลิต แรงงาน 1. เมื่อมีเงินเดือนและค่าแรงเกิดขึ้น Dr. เงินเดือนและค่าแรง (Salaries and wages) Cr. เงินสด/เงินเดือนและค่าแรงค้างจ่าย (Cash/Salaries and wages payable)

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับกระบวนการจัดหาปัจจัยการผลิต ค่าใช้จ่ายโรงงาน 1. จ่ายค่าใช้จ่ายโรงงานเป็นเงินสด Dr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) Cr. เงินสด (Cash) 2. ค่าใช้จ่ายโรงงานค้างจ่าย และอื่นๆ Dr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) Cr. ค่า........ค้างจ่าย (........ Payable) ค่าเสื่อมราคาสะสม (Accumulated Depreciation)

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการเบิกปัจจัยการผลิตเข้ากระบวนการผลิต วัตถุดิบ 1. เบิกวัตถุดิบทางตรงเข้าสู่กระบวนการผลิต Dr. งานระหว่างทำ (Work in process) Cr. วัตถุดิบ (Materials) 2. ส่งคืนวัตถุดิบทางตรงเข้าคลังสินค้า Dr. วัตถุดิบ (Materials) Cr. งานระหว่างทำ (Work in process)

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการเบิกปัจจัยการผลิตเข้ากระบวนการผลิต วัตถุดิบ 3. เบิกวัตถุดิบทางอ้อมเข้าสู่กระบวนการผลิต Dr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) Cr. วัตถุดิบ (Materials) 4. ส่งคืนวัตถุดิบทางอ้อมเข้าคลังสินค้า Dr. วัตถุดิบ (Materials) Cr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control)

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการเบิกปัจจัยการผลิตเข้ากระบวนการผลิต แรงงาน 1. เมื่อคิดเงินเดือนและค่าแรงเข้าสู่กระบวนการผลิต Dr. งานระหว่างทำ (Work in process) คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) Cr. เงินเดือนและค่าแรง (Salaries and wages) ทางตรง ทางอ้อม

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการเบิกปัจจัยการผลิตเข้ากระบวนการผลิต ค่าใช้จ่ายโรงงาน 1. คิดค่าใช้จ่ายโรงงานเข้ากระบวนการผลิต Dr. งานระหว่างทำ (Work in process) Cr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control)

การบันทึกเมื่อผลิตเสร็จพร้อมกับโอนสินค้าเข้าเก็บในคลังสินค้า Dr. งานระหว่างทำ (Work in process) Cr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control)

การบันทึกเมื่อมีการขายเกิดขึ้น 1. บันทึกการขายสินค้า Dr. ลูกหนี้/เงินสด (Accounts Receivable/Cash) Cr. ขาย (Sales) 2. บันทึกต้นทุนสินค้าขาย Dr. ต้นทุนสินค้าขาย (Cost of goods sold) Cr. สินค้าสำเร็จรูป (Finished goods)

ชนิดของต้นทุน ระบบต้นทุนจริง (Actual Cost) 01 02 03 ระบบต้นทุนจริง (Actual Cost) ระบบต้นทุนปกติ (Normal Cost) ระบบต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost)

ระบบต้นทุนจริง (Actual Cost) คำนวณต้นทุน DM+DL+OH ด้วยค่าต้นทุนจริง Dr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) Cr. เงินสด (Cash) ค่าเสื่อมราคาสะสม (Accumulated Depreciation) ค่า…..ค้างจ่าย (..... Payable) เมื่อจะทำการบันทึกค่าใช้จ่ายโรงงานเป็นต้นทุนสินค้า วิธีต้นทุนจริงจะรอจนกว่ามีการปิดบัญชียอดค่าใช้จ่ายโรงงานที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นเดือน หรือสิ้นงวด บันทึกบัญชี ดังนี้ Dr. งานระหว่างทำ (Work in process) xx Cr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน (Factory Overhead Control) xx

ระบบต้นทุนปกติ (Normal Cost) ธุรกิจจะต้องมีการประมาณค่าใช้จ่ายโรงงานขึ้นมาล่วงหน้า หรือที่เรียกว่า ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร โดยจะต้องประมาณค่าใช้จ่ายโรงงาน ณ ระดับหนึ่ง แล้วพิจารณาว่าค่าใช้จ่ายโรงงานนั้นมีความสัมพันธ์กับหน่วยการผลิตใด แล้วจึงคำนวณเป็นอัตราค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร อัตราค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร = จำนวนค่าใช้จ่ายโรงงานประมาณ ระดับกิจกรรม(เกณฑ์ในการปันส่วน)

ระบบต้นทุนปกติ (Normal Cost) หลังจากที่ได้อัตราค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรรแล้ว จะทำการคำนวณค่าใช้จ่ายโรงงานเข้ากระบวนการผลิต ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร = อัตราค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร × ระดับกิจกรรม (เกณฑ์ในการปันส่วน) Dr. งานระหว่างทำ (Work in process) Cr. ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร (Applied Factory Overhead)

Cr. ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร 50,000.- ตัวอย่าง มีจำนวนค่าใช้จ่ายโรงงานประมาณ ณ ระดับชั่วโมงแรงงานทางตรง 50,000 ชั่วโมง เท่ากับ 250,000 บาท อัตราค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร = 250,000 บาท 50,000 ชม .แรงงาน = 5 บาท/ชั่วโมงแรงงานทางตรง ในงวดเดือนนี้ ชั่วโมงแรงงานทางตรง เป็นเวลา 10,000 ชั่วโมง ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรรจะเท่ากับ 10,000 × 5 =50,000 บาท การบันทึกค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรรจะทำได้ดังนี้ Dr. งานระหว่างทำ 50,000.- Cr. ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร 50,000.-

ทั้งนี้ เมื่อมีค่าใช้จ่ายโรงงานเกิดขึ้น จะยังคงบันทึกบัญชีดังนี้ Dr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน xx Cr. เงินสด xx ค่าเสื่อมราคาสะสม xx ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย xx

การบันทึกบัญชีด้วยต้นทุนปกติสามารถสรุปได้ดังนี้ รายการ การบันทึกบัญชี 1) เมื่อมีค่าใช้จ่ายโรงงานเกิดขึ้น Dr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน xx Cr. เงินสด/ค่า.....ค้างจ่าย xx 2) เมื่อบันทึกค่าใช้จ่ายโรงงานเข้าสู้กระบวนการผลิต Dr. งานระหว่างทำ xx Cr. ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx 3) เมื่อปิดบัญชีค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรรกับบัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน Dr. ค่าใช้จ่ายโรงงานจัดสรร xx Cr. คุมยอดค่ายใช้จ่ายโรงงาน xx 4) ปิดผลต่างของค่าใช้จ่ายโรงงานไปบัญชีกำไรขาดทุน 4.1) กรณีผลต่างอยู่ทางด้านเครดิต 4.2) กรณีผลต่างอยู่ด้านเดบิต Cr. กำไรขาดทุน xx Dr. กำไรขาดทุน xx Cr. คุมยอดค่าใช้จ่ายโรงงาน xx

ระบบต้นทุนมาตรฐาน (Standard Cost) เป็นระบบต้นทุนที่มีการกำหนดขึ้นมาล่วงหน้าอย่างมีหลักเกณฑ์และมีประสิทธิภาพ สามารถทำการวิเคราะห์ผลต่างต้นทุนมาตรฐานเพื่อนำเสนอให้ฝ่ายบริหารเพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุม และตัดสินใจ

You can safely remove this slide You can safely remove this slide. This slide design was provided by SlideModel.com - You can download more templates, shapes and elements for PowerPoint from http://slidemodel.com