อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับ ความร้อน และ ความเย็น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

Nickle.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
โครเมี่ยม (Cr).
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่อง การบริหารร่างกายระหว่างการ ทำงาน เพื่อยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การยศาสตร์ (Ergonomics)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เรื่อง อันตรายของเสียง
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แผ่นดินไหว.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับ ความร้อน และ ความเย็น 22/5/2016

เนื้อหา อันตรายที่เกิดจากความร้อน อันตรายที่เกิดจากความเย็น 22/5/2559 เนื้อหา อันตรายที่เกิดจากความร้อน อันตรายที่เกิดจากความเย็น อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย>

1. อันตรายจากความร้อน (Heat) ความร้อน คือ พลังงานรูปหนึ่งอยู่ที่เกิดจากการ เคลื่อนไหว หรือสั่นสะเทือนของโมเลกุลของวัตถุ ความร้อนเป็นพลังงานที่อาจเปลี่ยนแปลงจากพลังงาน รูปอื่นได้ เช่น เปลี่ยนแปลงจากพลังงานเคมี ไฟฟ้า แสง และพลังงานกล หน่วยวัดระดับความร้อน คือ องศาเซลเซียส (Celsius) และองศาฟาเรนไฮด์(Fahrenheit) เป็นต้น หน่วยวัดปริมาณความร้อน คือ กิโลแคลอรี่ และบี ทียู ปริมาณความร้อน 1 กิโลแคลอรี่ คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำมวล 1 กรัม มี อุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.1 ความเครียดจากความร้อน (Heat stress) เป็นการรวมปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัย ทางด้านร่างกายที่อาจทำให้เกิดความร้อนส่งผลให้เกิด อันตรายต่อร่างกาย ผู้ปฏิบัติงานได้รับความร้อนจาก 2 แหล่งสำคัญ ได้แก่ ปัจจัยภายนอกร่างกาย ปัจจัยภายในร่างกาย อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.2 ความเค้นจากความร้อน (Heat Strain) เป็นการตอบสนองของร่างกายต่อความเครียดจาก ความร้อน จะทำให้ร่างกายเกิดความผิดปกติจากการ ทำงานในสภาพแวดล้อมที่ร้อนขึ้นมา ได้แก่ การมีไข้ (Fever) การเป็นลมเนื่องจากความร้อน (Heat Stroke) การอ่อนเพลียเนื่องจากความร้อน (Heat Exhaustion) การเป็นตะคริวเนื่องจากความร้อน (Heat Cramp) การเป็นผดผื่นเนื่องจากความร้อน (Heat Rash) การขาดน้ำ (dehydration) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

3.3 กลไกการตอบสนองความร้อนของร่างกาย Work at hot Environment Heat stress Increase Body Temperature Evaporation Radiation Convection Conduction High Body Temperature Fever Heat Stroke Heat Exhaustion Heat Cramp Heat Rash dehydration Heat isn’t release from body in balance. Must Rehydrate & Replace Body Salts Heat Strain 22/5/2016

3.3 กลไกการตอบสนองความร้อนของร่างกาย (ต่อ) 3.3.1 การระเหยของเหงื่อ (Evaporation) ระบายความร้อนออกทางผิวหนังพร้อมกับเหงื่อ อุณหภูมิร่างกายลดลง วิธีนี้ร่างกายจะสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายประมาณ 22 % เป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพที่สุด เพราะ เหงื่อสามารถนำความร้อนออกมาได้ โดยไม่คำนึงถึงอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม เช่น ออกกำลังกายในหน้าหนาว เป็นต้น

1.3 กลไกการตอบสนองความร้อนของร่างกาย (ต่อ) 1 การแผ่รังสีความร้อน (Radiation) ระบายความร้อนออกจากร่างกายในรูปรังสีอินฟราเรด กระจายทุกทิศทางโดย ไม่อาศัยตัวกลาง แผ่รังสีจากพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงอุณหภูมิต่ำ วิธีนี้ร่างกายจะสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายประมาณ 10 % อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.3 กลไกการตอบสนองความร้อนของร่างกาย (ต่อ) 2 การนำความร้อน (Conduction) ระบายความร้อนออกจากร่างกายโดยส่งผ่านไปกับตัวกลาง ที่เป็นของแข็ง เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องมือ น้ำแข็ง เป็นต้น วิธีนี้ร่างกายจะสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายประมาณ 3 % แหล่งที่มีความร้อนสูงแหล่งที่มีความร้อนต่ำ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.3 กลไกการตอบสนองความร้อนของร่างกาย (ต่อ) 3. การพาความร้อน (Convection) ระบายความร้อนออกจากร่างกายผ่านไปกับตัวกลาง (ของเหลวและก๊าซ/อากาศรอบตัว) วิธีนี้ร่างกายจะสูญเสียความร้อนออกจากร่างกายประมาณ 12 % อากาศที่ร้อนมีความหนาแน่นต่ำกว่าอากาศเย็น อาศัยหลักการพาความร้อนจากพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำเสมอ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.4 อันตรายจากการทำงานในสภาพแวดล้อมที่ร้อน 1) การมีไข้ (Fever) มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิปกติของร่างกาย ทำให้มีไข้จากสภาวะแวดล้อมที่ร้อน มักเกิดกับกลุ่มคนที่สัมผัสความร้อนเป็นเวลานานและยังไม่ชินกับการทำงานในสภาวะแวดล้อมที่ร้อน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.4 อันตรายจากการทำงานในสภาพแวดล้อมที่ร้อน (ต่อ) 2) การเป็นลมเนื่องจากความร้อน (Heat Stroke) อุณหภูมิแกนกลางร่างกายสูงเกินกว่า 40.5 ๐C ทำให้เกิดอาการมึนงง สับสน ตัวแห้ง อาจไม่รู้สึกตัว เกิดการชัก บางรายรุนแรงเกิดภาวะช็อคหมดสติ วิธีปฐมพยาบาล ปลดเสื้อผ้าคนไข้ให้ผ่อนคลาย ให้นำคนไข้เช็ดตัวด้วยน้ำเย็นทันที หรือใช้แอลกอฮอล์ผสมน้ำ ให้พัดลมช่วย และเพิ่มการระบายอากาศในบริเวณนั้น รีบนำส่งโรงพยาบาลเพื่อให้แพทย์ทำการรักษาต่อทันที อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.4 อันตรายจากการทำงานในสภาพแวดล้อมที่ร้อน (ต่อ) 3) การอ่อนเพลียเนื่องจากความร้อน (Heat Exhaustion) เกิดจากระบบหมุนเวียนของเลือดไม่เพียงพอ เลือดไปเลี้ยงสมองได้ไม่เต็มที่ และเนื่องมาจากการขับเหงื่อออกไม่พออาการที่เกิด เริ่มมีอาการรู้สึกอ่อนเพลีย ปวดหัว เป็นลม หน้า มือ ชีพจรเต้น อ่อนลง มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน คนงานมีอาการซีด และอุณหภูมิในร่างกายจะสูงขึ้น เล็กน้อย วิธีปฐมพยาบาล ให้คนงานพักในที่ร่ม ให้ดื่มน้ำจำนวนมาก อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.4 อันตรายจากการทำงานในสภาพแวดล้อมที่ร้อน (ต่อ) 4) การเป็นตะคริวเนื่องจากความร้อน (Heat Cramp) คนไข้ได้รับความร้อนมากเกินไป ทำให้ร่างกายสูญเสีย electrolyte โดยออกมากับเหงื่อเมื่อ electrolyte เสียไปมาก ทำให้กล้ามเนื้อที่หน้าท้องเสียการควบคุม จึงทำให้กล้ามเนื้อบีบตัว และเจ็บมาก กล้ามเนื้อน่องก็จะเกิดตะคริวขึ้นด้วย ระบบการหมุนเวียนของโลหิตส่วนปลายเสียการควบคุม วิธีปฐมพยาบาล เอาคนไข้ออกจากที่ร้อน ให้น้ำเกลือ1 เปอร์เซ็นต์ และให้เกลือเม็ด1 กรัม ในเวลาทุกชั่วโมง นวดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มการหมุนเวียนของโลหิต ใช้ประคบด้วยความร้อน เพื่อให้เส้นเลือดขยายตัว เลือดจะได้มาเลี้ยงกล้ามเนื้อได้สะดวก อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.4 อันตรายจากการทำงานในสภาพแวดล้อมที่ร้อน (ต่อ) 5) การขาดน้ำ (dehydration) ลักษณะของการขาดน้ำมักประกอบด้วยอาการกระหายน้ำ ผิวหนัง แห้ง น้ำหนักลด อุณหภูมิของร่างกายจะสูงขึ้นและอาจทำให้ชีพจรเต้นเร็วขึ้น สถานภาพของการเป็นกรดและ เป็นด่างในร่างกายจะไม่สมดุล มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ทำให้คนงาน รู้สึกไม่สบาย อาการขาดน้ำนี้จะเป็นตัว บ่งชี้ของอาการของร่างกายอ่อนเพลียและเป็นลมเพราะความร้อนสูง อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.5 การประเมินอันตรายจากความร้อน Wet Bulb Globe Temperature (WBGT) เทอร์โมมิเตอร์กระเปราะแห้ง (Dry Bulb Thermometer : DB) เทอร์โมมิเตอร์กระเปราะเปียกตามธรรมชาติ (Natural Wet Bulb Thermometer : NWB) โกลบเทอร์โมมิเตอร์ (Globe Bulb Thermometer : GT) GT DB NWB

การตรวจวัดความร้อนในสถานประกอบการ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

การตรวจวัดความร้อนในสถานประกอบการ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.6 สถานที่ประกอบการที่ต้องตรวจวัดความร้อน กฎกระทรวง เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและ จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549 และ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีดำเนินการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานที่เกี่ยวกับ ระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถานประกอบ กิจการ ระยะเวลา และประเภทกิจการที่ต้องดำเนินการ พ.ศ. 2550 ได้กำหนดให้ประเภทที่ต้องทำการตรวจวัดความร้อน ได้แก่ การผลิตน้ำตาลและทำให้บริสุทธิ์ การปั่นทอที่มีการฟอกหรือย้อมสี การผลิตเยื่อกระดาษหรือกระดาษ การผลิตยางรถยนต์หรือหล่อดอกยาง การผลิตกระจก เครื่องแก้ว หรือหลอดไฟ การผลิตซีเมนต์หรือปูนขาว การถลุง หล่อหลอมหรือรีดโลหะ กิจการที่มีแหล่งกำเนิดความร้อนหรือมีการทำงานที่อาจทำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายเนื่องจากความร้อน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

1.7 ค่ามาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานกับความร้อน ลักษณะงานที่ใช้ แรงน้อย เช่น งานเขียนหนังสือ งานพิมพ์ดีด งานบันทึกข้อมูล งานเย็บจักร งานนั่งตรวจสอบ ผลิตภัณฑ์ ลักษณะงานที่ใช้แรงปานกลาง เช่น งานยก ลาก ดัน หรือเคลื่อนย้ายสิ่งของด้วยแรงปานกลาง งานขับรถบรรทุก ลักษณะงานที่ใช้แรงมาก เช่น งานที่ใช้พลั่วหรือเสียมขุดตัก งานเลื่อยไม้ งานเจาะไม้เนื้อแข็ง อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

2 อันตรายจากความเย็น (Cold) การปฏิบัติงานในสภาวะแวดล้อมที่เย็นหรือพื้นที่ที่มี อุณหภูมิต่ำ ร่างกายพยายามรักษาอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ใน ระดับปกติ ร่างกายของผู้ปฏิบัติงานจะมีการตอบสนองต่อความ เย็นในหลายรูปแบบ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

2.1 รูปแบบการตอบสนองต่อความเย็นของผู้ปฏิบัติงาน 1) ไฮโปเทอเมีย (Hypothermia) อุณหภูมิแกนกลางร่างกายต่ำกว่า 35 ๐C หรือที่ อุณหภูมิอากาศระหว่าง 2-10 ๐C คนงานที่เกิดอาการไฮโปเทอเมีย จะมีอาการดังนี้ สั่นอย่างรุนแรง บางรายสั่นจนไม่สามารถควบคุม ร่างกายได้ เกิดอาการอ่อนเพลีย สมองทำงานช้า ความดันโลหิตต่ำ การตัดสินใจช้า หมดความรู้สึก บางรายอาจเสียชีวิต อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

2.2 รูปแบบการตอบสนองต่อความเย็นของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) 2) Raynaud’s Phenomenon เป็นสภาวะหมดความรู้สึก เฉพาะแห่ง เกิดการขาวซีดของนิ้วมือ หรือส่วนปลายของ ร่างกาย มีอาการคัน และชาเมื่อสัมผัสความเย็น ถ้าสถานที่มีความ สั่นสะเทือน จะทำให้เกิด อาการนี้เร็วขึ้น อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

2.2 รูปแบบการตอบสนองต่อความเย็นของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) 3) ฟรอสไบท์ (Frostbite) เมื่อคนงานได้รับความเย็นจัด ทำให้มีการแข็งตัว ของของเหลวรอบเซลล์/เนื้อเยื่อ อาจทำให้เนื้อเยื่อตาย มักเกิดบริเวณแก้ม จมูก หู นิ้วมือ นิ้วเท้า เนื้อเยื่อจะแข็งตัวที่อุณหภูมิ 1 ๐C ถ้ามี ความเร็วลมมากจะเกิดโรคนี้เร็ว ฟรอสไบท์ มี 3 ระดับ ระดับ 1 เกิดการแข็งตัวของผิวหนัง แต่ ไม่พุพองหรือไม่เปิดออก ระดับ 2 เกิดการแข็งตัวของผิวหนัง มี เม็ดพุพองและหนังถลอก ระดับ 3 เกิดการแข็งตัวของผิวหนัง เนื้อเยื่อผิวหนังตาย และเนื้อเยื่ออยู่ลึก ได้รับอันตราย ระดับ 2 ระดับ 3 อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

2.2 รูปแบบการตอบสนองต่อความเย็นของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) 4) Chilblains หรือ Pernio เกิดอาการขึ้นเริ่มด้วย ผิวหนังแดง คัน จากการ อักเสบจากความเย็น ถ้าสัมผัสต่อไปจะกลายเป็น Chronic Pernio หรือ Ble toes เป็นแผลบวมแดงในบริเวณส่วนปลายของ นิ้ว ทำให้เกิดพังผืด และเกิดแผลในที่สุด อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

2.3 ค่ามาตรฐานการปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่เย็น