การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
Advertisements

งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การฝึกปฏิบัติการตรวจประเมิน รายงานการประเมินตนเองของสหกรณ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
FA Interview.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง 5 กุมภาพันธ์ 2558

สมาชิกทีม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลพัทลุง สมาชิกทีม คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลพัทลุง สรุปผลงานโดยย่อ การดำเนินการพัฒนา ปรับปรุงระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบบริหารจัดการความเสี่ยง โดยมีกิจกรรม ต่างๆ เพื่อ ให้บรรลุผลลัพธ์สุดท้าย คือ ความปลอดภัย ทั้งผู้รับบริการ / ผู้ให้บริการ

“มีระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย เป้าหมาย “มีระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย ที่มีประสิทธิภาพ” 1. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ > ร้อยละ 80 2. จำนวนรายงานอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น 3. หน่วยงาน > ร้อยละ 90 มีการรายงานอุบัติการณ์ 4. หน่วยงาน > ร้อยละ 90 มีการรายงานอุบัติการณ์ตนเอง 5. สัดส่วนการรายงานความเสี่ยง miss ต่อ near miss 6. อุบัติการณ์ และเรื่องร้องเรียน ที่มีความรุนแรง

“มีระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย เป้าหมาย (ต่อ) “มีระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย ที่มีประสิทธิภาพ” 7. จำนวนอุบัติการณ์ ระดับ E-I ที่มีการทำ RCA แล้วเกิดซ้ำ เป็น 0 8. ร้อยละข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข และปิดประเด็น ≥ ร้อยละ 80 9. อัตราการทันเวลาของการรายงานเหตุการณ์ Sentinel Event ระดับ E-I ≥ ร้อยละ 80 10. ร้อยละการดำเนินการไกล่เกลี่ยโดยทีม เมื่อมีอุบัติการณ์/ร้องเรียนที่มีแนวโน้มถูกฟ้องร้อง ภายใน 24 ชม. ร้อยละ 100 11. จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาดจากการบ่งชี้ ลดลง

ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ

1.1จนท.ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก /กลัวความผิด กิจกรรมการพัฒนา 1.คน 1.1จนท.ขาดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก /กลัวความผิด ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 -ประชุมเสริมความรู้ -สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย -จัด KM -ทบทวน PSG + เพิ่มช่องทาง การสื่อสาร -จัดทำคู่มือ+เพิ่มช่องทาง การสื่อสาร -จัดทำ mini research -ประชุมเสริมความรู้ -สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย -ประชุมเสริมความรู้ -สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย -ประชุมเสริมความรู้ -สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) 2.ระบบ/กระบวนการ 2.1แนวทางปฏิบัติในการบริหารจัดการความเสี่ยงไม่ชัดเจน ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 -จัดตั้ง คกก.ความเสี่ยง ระดับ รพ. -จัดทำแผน -จัดตั้ง คกก.ความเสี่ยงระดับหน่วยงาน -ทบทวน/ปรับปรุงแผน -จัดทำแผนกลยุทธ์ การบริหารความเสี่ยง/แผนปฏิบัติการ -ทบทวน คกก. -ทบทวนแผน -ปรับปรุงการรายงาน Sentinel Event

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) 2.ระบบ/กระบวนการ 2.2ระบบการรายงานยุ่งยาก /ซับซ้อน ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 -จัดทำ flow chart ความเสี่ยง -ปรับปรุงแบบฟอร์ม -เพิ่มช่องทางการรายงาน -เพิ่มการเชื่อมโยงระบบรายงาน -ปรับปรุงแบบฟอร์ม -ทบทวน flow chart ความเสี่ยง -ปรับปรุงแบบฟอร์ม

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) 2.ระบบ/กระบวนการ 2.3ไม่มีระบบการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก ปี 2557 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 -เสริมความรู้ พร้อมกระตุ้น -เสริมความรู้ ติดตาม หน่วยงานทำบัญชีความเสี่ยง และการใช้ประโยชน์ -ทบทวนคณะทำงาน Trigger tool พร้อมดำเนินการทุกไตรมาส -เพิ่มการทำ FMEA -เสริมความรู้ พร้อมกระตุ้น -กระตุ้นให้ จนท.มีส่วนร่วมเสนอแนะเพื่อการพัฒนา -เสริมความรู้ ติดตาม หน่วยงานทำบัญชีความเสี่ยง และการใช้ประโยชน์ -เสริมความรู้ พร้อมกระตุ้น -เสริมความรู้ ติดตาม หน่วยงานทำบัญชีความเสี่ยง และการใช้ประโยชน์ -เสริมความรู้ พร้อมกระตุ้น -เสริมความรู้ ติดตาม หน่วยงานทำบัญชีความเสี่ยง และการใช้ประโยชน์

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) 2.ระบบ/กระบวนการ 2.4ระบบ การทำ/การวิเคราะห์ RCA ไม่มีประสิทธิภาพ ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 -กระตุ้น ติดตาม หน่วยงานทำ RCA และสนับสนุนส่วนขาด -กระตุ้น ติดตาม หน่วยงานทำ RCA และสนับสนุนส่วนขาด -เสริมความรู้วิธีการทำ RCA -กระตุ้น ติดตาม หน่วยงานทำ RCA และสนับสนุนส่วนขาด -กระตุ้น ติดตาม หน่วยงานทำ RCA และสนับสนุนส่วนขาด -เน้นผลการพัฒนาเชิงระบบ -ประสานหาเจ้าภาพหลักในการทำ RCA ที่เกี่ยวข้องหลายระบบ

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) 2.ระบบ/กระบวนการ 2.5ขาดการประเมินผลทุกระดับ ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 -ติดตามการตอบกลับอุบัติการณ์/ร้องเรียน -มอบรางวัลผู้ให้บริการดีเด่น -ติดตามการตอบกลับอุบัติการณ์/ร้องเรียน -ลงประเมิน/ประกวดหน่วยงาน -จัดมหกรรมความเสี่ยง -มอบรางวัลผู้ให้บริการดีเด่น -ติดตามการตอบกลับอุบัติการณ์/ร้องเรียน -มอบรางวัลผู้ให้บริการดีเด่น -ติดตามการตอบกลับอุบัติการณ์/ร้องเรียน -ทีม RM เยี่ยมหน่วยงานกับทีม IS -มอบรางวัลผู้ให้บริการดีเด่น -ร่วม THIP II เพื่อ Benchmark

กิจกรรมการพัฒนา (ต่อ) 3.เครื่องมือ 3.1ขาดทักษะการนำเครื่องมือมาใช้ในการพัฒนา ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 -ค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกจากหน้างาน -เสริมความรู้ Trigger tool, Trigger tool -จัดโครงการประกวดหน่วยงานบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อหา Role model เป็นตัวอย่างแก่หน่วยงานอื่น -การใช้เครื่องมือ RCA สู่การพัฒนาอย่างเข้าใจ -ทบทวนคณะทำงาน Trigger tool ติดตามทำอย่างต่อเนื่อง สรุปปัญหา พัฒนาต่อ -อบรมทบทวนคณะ ทำงาน Trigger tool -ทบทวนการใช้เครื่องมือ 12 กิจกรรมทบทวน

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง 1. ด้านความรู้

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 2. จำนวนการรายงานอุบัติการณ์ เพิ่มขึ้น รวม 9609 รวม 8109 รวม 2003 รวม 1297

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 3. หน่วยงาน > ร้อยละ 90 มีการรายงานอุบัติการณ์

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 4. หน่วยงาน > ร้อยละ 90 มีการรายงานอุบัติการณ์ตนเอง

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 5.สัดส่วนการรายงานความเสี่ยง miss ต่อ near miss (เป้าหมาย เพิ่มขึ้น) miss : Near miss 25 : 75% miss : Near miss 34.89 : 65.11% miss : Near miss 47.6 : 52.4% miss : Near miss 36.2 : 63.8%

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 6. อุบัติการณ์ ร้องเรียน ระดับ E-I มีการทำ RCA (เป้าหมาย 100%)

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 7. จำนวนอุบัติการณ์ ระดับ E-I ที่มีการทำ RCA แล้วเกิดซ้ำ (เป้าหมาย เป็น 0) แพ้ยาซ้ำ

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 8. ร้อยละข้อร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไข และปิดประเด็น (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 80

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 9. อัตราการทันเวลาของการรายงานเหตุการณ์ Sentinel Event ระดับ E-I ≥ ร้อยละ 80

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 10. ร้อยละการดำเนินการไกล่เกลี่ยโดยทีม เมื่อมีอุบัติการณ์/ร้องเรียนที่มีแนวโน้มถูกฟ้องร้อง ภายใน 24 ชม. ร้อยละ 100 ได้รับการไกล่เกลี่ยทันเวลา 100%

การวัดผล และผลการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) 11. จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาดจากการบ่งชี้ ลดลง

วิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมสำหรับผู้ป่วยและญาติ การตามรอย การสอนข้างเตียง Safety culture IS, IC Round, ENV Round การซ้อมแผนต่างๆ กิจกรรมสำหรับผู้ป่วยและญาติ 25

บทเรียนที่ได้รับ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการความเสี่ยงของหน่วยงาน/องค์กร โดย 1. หัวหน้าหน่วยงานรับรู้ เป็นผู้นำกำหนดร่วมชี้แนะช่วยเหลือ บูรณาการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2. มีกลไก ช่องทางการสื่อสารในหน่วยงานที่หลากหลาย 3. เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจ และความรับผิดชอบ 4. การมีกิจกรรม การทบทวน พูดคุยประเด็นปัญหาความเสี่ยง เป็นประจำ 5. มีกลยุทธการกระตุ้น ติดตามงานที่ท้าทาย แปลกใหม่ 6. สร้างทัศนคติที่ดี ในการรายงานความเสี่ยง ไม่ใช่เพื่อการลงโทษ จับผิด แต่เพื่อการพัฒนา 7. การประเมิน ติดตามอย่างต่อเนื่อง ทุกระดับ

“ค้นหาทุกทาง เร่งวางแก้ไข ใส่ใจระบบ ครบถ้วนข้อมูล ”