คอมพิวเตอร์คืออะไร คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับข้อมูลและชุดคำสั่ง (Program) ในรูปแบบที่เครื่องรับได้ แล้วนำมาประมวลผล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Advertisements

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed LAN Software เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Information and Communication Technology Lab2
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ Computer Information Systems
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Educational Information Technology
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Information and Communication Technology Lab2
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Operating System Overview
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
SMS News Distribute Service
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ (Overview of Operating Systems)

คอมพิวเตอร์คืออะไร คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับข้อมูลและชุดคำสั่ง (Program) ในรูปแบบที่เครื่องรับได้ แล้วนำมาประมวลผล (Process) ข้อมูลตามชุดคำสั่งเพื่อแก้ปัญหา หรือทำการคำนวณที่สลับซับซ้อนจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ และยังสามารถบันทึกหรือแสดงผลลัพธ์เหล่านั้นได้

1.1 ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็น 7 ประเภท ดังนี้ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เมนเฟรม (Mainframe) มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) คอมพิวเตอร์ขนาดสุดบันทึก หรือ หรือ โน้ตบุค (Notebook Computer) พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistant) คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers/NC)

1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ ทำงานรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง แต่มีราคาแพงที่สุด ใช้งานที่มีการคำนวณซับซ้อน เช่น การคำนวณทางวิทยาศาสตร์ การบิน อุตสาหกรรมน้ำมัน การคำนวณอุตุนิยมวิทยา และห้องปฏิบัติการต่างๆ ในภาครัฐและเอกชน ใช้หลักการมัลติโปรเซสซิง (Multiprocessing) = การใช้หน่วยประมวลผลหลายตัว เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานหลายงานพร้อมๆ กันได้ ความเร็วจะมีการวัดเป็นเป็นหน่วยนาโนวินาที (Nano Second) = เศษหนึ่งส่วนพันล้านวินาที และจิกะฟลอป = การคำนวณในหนึ่งพันล้านครั้งต่อวินาที

RICHLAND, Wash. — The Pacific Northwest National Laboratory's supercomputer has been ranked No. 5 on the top 500 list of the fastest computers in the world that was released yesterday. The HP system installed at PNNL was designed specifically for complex computational environmental and biological sciences. The latest list represents the first time the 11.8 teraflop supercomputer was ranked based on its full power. The machine consists of nearly 2,000 1.5GHz Intel® Itanium®-2 processors. The Top 500 list ranks computers based on their performance running a benchmark called Linpack, which is a method to measure a machine's ability to solve a set of dense linear equations. www.pnl.gov/news/2003/03-44.ht Reviewed: November 2003

2. เมนเฟรม (Mainframe) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ สามารถประมวลคำสั่งได้นับร้อยล้านครั้งในหนึ่งวินาที ใช้ในงานด้าน ธนาคาร ธุรกิจการบิน บริษัท และมหาวิทยาลัยต่างๆ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมโยงกับเครื่องปลายทาง (Terminal) ได้จำนวนมาก Terminal = อุปกรณ์พ่วงต่อที่ผู้ใช้แต่ละคนใช้ทำงานกับคอมพิวเตอร์ในเวลาเดียวกัน

Mainframe Terminal

3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้ในองค์กรเล็ก ราคาไม่สูงนัก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมโยงกับเครื่องปลายทาง (Terminal) ได้ ใช้ในหน่วยงานเฉพาะด้าน เช่น ประมวลผลงานบัญชี ฯลฯ ข้อแตกต่างของ Mainframe กับ Minicomputer : Mainframe Computer จะใช้ต่อกับเครื่อง terminal ได้มากกว่า 10,000 เครื่อง

4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่นิยมมากที่สุด หาซื้อง่าย ราคาไม่แพง ประยุกต์ใช้ได้ในงานหลายประเภท 5. คอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึก(Notebook computer) คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สามรถพกพาได้ ความสามารถเทียบเท่าคอมพิวเตอร์ PC

6. พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistant) คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางอยู่บนมือเดียว ใช้ปากกา Stylus เขียนข้อความบนหน้าจอเพื่อป้อนข้อมูลด้วยเทคโนโลยีการรับรู้ด้วยลายมือ (Hand writing recognition) พีดีเอที่นิยมใช้มี 2 แบบ คือ Palm และ Pocket PC

7. คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers/NC) เป็นคอมพิวเตอร์(อาจจะที่ไม่มีหน่วยเก็บข้อมูลสำรองในตัว) เป็นการประยุกต์ใช้เครื่อง PC ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ ไม่ว่าจะเป็นใช้สายเชื่อมโดยตรงในอาคาร (LAN) หรือการเชื่อมระยะไกล (Internet) ราคาต่ำและค่าบำรุงรักษาน้อย

1.2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์(Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูล (Data) กระบวนการทำงาน (Procedure) HARDWARE OPERATING SYSTEM PACKAGE AND APPLICATION SOFTWARE USER 1 USER 2 USER 3 USER 4 … USER n

PROCESSING INPUT OUTPUT STORAGE

ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) แบ่งเป็น ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)แบ่งเป็น ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General Purpose Software) / ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package Software)

บุคลากร (Peopleware) สามารถแบ่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องตาลักษณะงานได้ 6 ด้าน ดังนี้ ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบ (System Analysis and Design) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA) ผู้ปฏิบัติการ (Operator) ผู้ใช้ (User) ผู้บริหาร (Manager)

ข้อมูล (Data) กระบวนการทำงาน (Procedure) Bit Byte Data Item Field Record File Data Base กระบวนการทำงาน (Procedure) กระบวนการทำงาน (Procedure) = ขั้นตอนการทำงานที่ให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ อยู่ในรูปของ คู่มือผู้ใช้ (User Manual) และ คู่มือผู้ดูแลระบบ (Operation Manual)

1.3 ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์และจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้ระบบทำงานอย่างต่อเนื่อง ยุคแรกการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องยุ่งยาก ผู้ใช้ต้องเรียนรู้ภาษาเครื่องเพื่อสั่งให้เครื่องทำงาน ตัวอย่าง ภาษาเครื่อง (Machine Language) 111001 แทนการบวก 100100 แทนการเก็บค่าลงในหน่วยความจำ

ต่อมาเกิดรูปแบบภาษา Assembly เพื่อให้ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น Assembly L. Machine L. ความหมาย ADD 111001 การบวก MOVE 010110 ย้ายค่า ปัจจุบันมีการพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language) ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องรู้โครงสร้างและการทำงานของเครื่อง

การเขียนโปรแกรมในอดีต ชุดคำสั่ง ประมวลลงทะเบียน และ การควบคุมเครื่อง โปรแกรมลงทะเบียน ระบบบริการการศึกษา Programmer 1 โปรแกรม ตัดเกรด ชุดคำสั่ง ประมวลผลเกรด และ การควบคุมเครื่อง Programmer 2

การเขียนโปรแกรมในปัจจุบัน ชุดคำสั่ง ประมวลลงทะเบียน โปรแกรมลงทะเบียน ระบบบริการการศึกษา ชุดคำสั่ง การควบคุมเครื่อง Programmer 1 OS โปรแกรม ตัดเกรด Programmer 2 ชุดคำสั่ง ประมวลผลเกรด

นิยามของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ คือ โปรแกรมที่ช่วยในการจัดระเบียบในการอินเทอร์เฟซระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง ตลอดจนการควบคุมอุปกรณ์ และจัดสรรทรัพยากรระบบให้ใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ การติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) ควบคุมดูแลอุปกรณ์ (Control Devices) จัดสรรทรัพยากรหรือรีซอร์สระบบ (Resources Management)

1. User Interface ติดต่อหรือสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานผ่าน Keyboard ทาง Prompt ของระบบปฏิบัติการ DOS Mouse ลากแล้วปล่อย ของระบบปฏิบัติการ Windows ระบบปฏิบัติการจะเป็นตัวกลาง เรียกใช้คำสั่งผ่าน System Call เพื่อให้ปฏิบัติสิ่งที่ต้องการ

2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์ (Control Devices) HARDWARE Program OS User ระบบปฏิบัติการ ทำหน้าที่ ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้ทำงานเป็นระบบ สอดคล้องกัน ระบบปฏิบัติการประกอบด้วยรูทีนย่อย/โปรแกรมย่อยที่ควบคุมอุปกรณ์แต่ละชนิด เราเรียกใช้รูทีนย่อยผ่าน System Call

3. จัดสรรทรัพยากร หรือ รีซอร์สระบบ (Resource Management) ตัวอย่าง Resource เช่น CPU, Memory, Disk, I/O Device สาเหตุที่ต้องมีการจัดสรรทรัพยากร คือ ทรัพยากรระบบมีอย่างจำกัด ทรัพยากรมีหลายประเภท การจัดสรรทรัพยากรต้องจัดสรรที่มีอยู่อย่างจำกัดและหลายประเภทให้เกิดประโยชน์สูงสุด ระบบทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และได้งานเพิ่มขึ้น

1.5 วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคแรก (ค.ศ.1945-1955) หลอดสุญญากาศ ไม่มีระบบปฏิบัติการ ยุคที่ 2 (ค.ศ.1955-1964) ทรานซิสเตอร์ ระบบปฏิบัติการแบบ Batch Processing ยุคที่ 3 (ค.ศ.1965-1980) Integrated Circuit/IC ระบบปฏิบัติการแบบ Virtual Storage Single Mode ระบบปฏิบัติการ UNIX ยุคที่ 4 (ค.ศ.1980-ปัจจุบัน) VLSI ระบบปฏิบัติการแบบ Multi-mode ใช้คุณลักษณะ Virtual Machine ระบบปฏิบัติการมีให้เลือกใช้ได้มากขึ้น ตั้งแต่ UNIX LINUX DOS Windows 3.X Windows 95 Windows 98 Windows ME Windows NT Windows 2000 Windows XP

1.6 ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันสามารถแบ่งตามคุณสมบัติการทำงานได้ดังนี้ ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non Operating System) ระบบงานแบบแบตช์ (Batch System) ระบบงานแบบบัฟเฟอร์ (Buffer System) ระบบงานแบบสพูลลิ่ง (Spooling System) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming) ระบบแบ่งเวลา (Time-Sharing System) ระบบเรียลไทม์ (Real-Time System) ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System) ระบบเวอร์ชวลแมชีน (Virtual Machine) ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor System) ระบบแบบกระจาย (Distributed System) ระบบโต้ตอบฉับพลัน (Real-Time Systems)

1. ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ ผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมทั้งหมด เขียนการควบคุมเครื่อง เตรียมข้อมูล ทำงานตามโปรแกรม & ทำการตรวจสอบข้อผิดพลาด 2. ระบบงานแบบแบตช์ (Batch System) พัฒนา device นำข้อมูลเข้า (การ์ดเจาะรู, เทป) และ device นำข้อมูลออก (เครื่องพิมพ์,เทป,การ์ดเจาะรู) ผู้ใช้เตรียมข้อมูล + โปรแกรม (เขียนด้วยภาษา JCL) ที่เจาะลงการ์ด  ส่งต่อให้ Operator นำเข้าระบบ Operator ส่งข้อมูลเข้าระบบเป็นกลุ่มงาน (Batch)

การ์ดเจาะรู CPU เครื่องพิมพ์ จุดด้อยของระบบ ความเร็วของอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูล (I/O Device =เครื่องกล) และ CPU (อิเล็กทรอนิกส์) แตกต่างกันมาก CPU ทำงานเร็วกว่า อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูล ทำให้ CPUต้องรออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลอ่านข้อมูลจนเสร็จ ทำให้ใช้ประโยชน์ CPU ได้ต่ำมาก

3. ระบบงานแบบบัฟเฟอร์ (Buffer System) พัฒนาหน่วยรับ-แสดงผลทำงานไปพร้อมๆ กับการทำงานของ CPU หลักการ ขณะที่ CPU ประมวลผลคำสั่ง จะมีการ Load ข้อมูลมาไว้ที่หน่วยความจำ (buffer) ก่อน เมื่อถึงเวลาประมวลผล CPU จะ Load ข้อมูลเข้ามาประมวลผลต่อได้ทันที การ์ดเจาะรู CPU เครื่องพิมพ์ Buffer

เป็นการทำให้เวลาในการประมวลผลและ Load ข้อมูลเข้ามาเท่ากัน มีการใช้ CPU ได้เต็มประสิทธิภาพ จุดด้อยของระบบ ขนาดบัฟเฟอร์ไม่เพียงพอ ความเร็วของอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูล (I/O Device =เครื่องกล) และ CPU (อิเล็กทรอนิกส์) ไม่สัมพันธ์กัน เนื่องจาก  CPU ทำงานเร็วกว่า อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูล ทำให้ CPUต้องรออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลอ่านข้อมูลจนเสร็จ  ถ้างานที่ต้องใช้ CPU มาก ใช้อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลน้อย อุปกรณ์ต้องหยุดรอ CPU

4. ระบบงานแบบสพูลลิ่ง (Spooling System) 4.1 การพัฒนา Tape แม่เหล็ก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ CPU หลักการ การ์ดเจาะรู CPU เครื่องพิมพ์ Tape จุดด้อยของระบบ โปรแกรมทำงานผ่านขั้นตอนมากขึ้น ถ้าใช้ Tape ประมวลผล จะมีการ Load ข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตรลงเทปไม่ได้ การ access ข้อมูลใน Tape จะเป็นแบบ Sequential ซึ่งจะช้า

4.2 การพัฒนา Disk แม่เหล็กแทน Tape ซึ่ง Disk จะaccess ข้อมูลได้โดยตรงและทำงานได้ทันทีหลักการ การ์ดเจาะรู CPU เครื่องพิมพ์ Disk ดิสก์กับอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลทำงานคู่ขนาน/Multiprogramming การทำงานของโปรแกรม 2 โปรแกรมพร้อมๆ กัน (Buffer เป็นการทำงานของโปรแกรมเดียวแต่ทำงานระหว่างประมวลผลและรับ-ส่งข้อมูลพร้อมๆ กัน) การ access ข้อมูลใน Disk จะเป็นแบบ Direct ซึ่งระบบจะเลือกงานเข้ามาทำตามความสำคัญ (Priority)

ระบบปฏิบัติการ งานที่ 1 งานที่ 2 งานที่ 3 … งานที่ n หลักการ จุดด้อย การทำงาน 2 โปรแกรมพร้อมๆ กัน ถ้ามีการดึงข้อมูลจากการ์ด ก็ต้องมีการหยุดรอ เนื่องจากทำงานแบบ First-Come, First-Serve 5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System) หลักการ การ Load Program ไว้ในหน่วยความจำหลักได้ครั้งละหลายโปรแกรม พร้อมประมวลผลได้ทันที OS จะเลือกงานเข้าไปประมวลผลเรื่องๆ จนกว่าจะหยุดคอยงานบางอย่าง ระบบปฏิบัติการ งานที่ 1 งานที่ 2 งานที่ 3 … งานที่ n 512K

หลักการ(ต่อ) ช่วงหยุดรอ OS จะเลือกงานเข้าไปประมวลผลต่อทันที ทำเช่นนี้จนกว่าทุกงานจะเรียบร้อย ถ้าไม่ใช่ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง CPU ต้องหยุดรอ ระบบมัลติโปรแกรมมิ่งเป็นจุดกำเนิดศาสตร์ด้านระบบปฏิบัติการ ระบบมัลติโปรแกรมมิ่งจะต้องมีการควบคุมและจัดการองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ การจัดเวลา CPU การจัดการหน่วยความจำ การจัดการอุปกรณ์ รวมถึงการจัดการทรัพยากรกรณีที่เกิด deadlock การป้องกันระบบ และการรักษาความปลอดภัย

6. ระบบแบ่งเวลา (Time-Sharing System) พัฒนาเทคนิคการแบ่งเวลา (Time-Sharing)/Multitasking หลักการ ระบบที่สามารถทำงานได้หลายๆ งานในเวลาเดียวกัน CPU สับเปลี่ยนการทำงานไปมา แต่สับเปลี่ยนด้วนความเร็วสูง ผู้ใช้รู้สึกเหมือน interactive โดยตรงกับโปรแกรมตนเอง มีการจัดเวลา CPU และมัลติโปรแกรมมิ่งส่วนย่อยเพื่อติดต่อกับโปรแกรมที่ Load บนหน่วยความจำ ขณะที่ CPU ติดต่ออุปกรณ์ภายนอก แทนที่ CPU ต้องหยุดรอ OS จะสับให้ CPU ทำโปรแกรมส่วนอื่น

ระบบปฏิบัติการ งานที่ 1 งานที่ 2 … งานที่ n การ์ดเจาะรู CPU เครื่องพิมพ์ Disk งานที่ 3 มีการนำโปรแกรมเก็บบน disk เพิ่มเติม เพื่อให้เวลาตอบสนองอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม  การจัดการหน่วย ความจำเสมือน (Virtual Memory) เป็นเทคนิคที่ทำให้การประมวลผลดำเนินไปได้แม้มีหน่วยความจำไม่พอ

7. ระบบเรียลไทม์ (Real-Time System) หลักการ ระบบที่สามารถตอบสนองได้ทันทีเมื่อได้รับอินพุตเข้าไป ระบบไม่เสียเวลาในการประมวลผล/เวลาในการประมวลผล = 0 ในทางปฏิบัติ ทำได้แค่การลดเวลาการประมวลผลให้น้อยที่สุด/เวลาในการตอบสนองน้อยที่สุด ใช้กับระบบควบคุมกระบวนการทางอุตสาหกรรม

8. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System) หลักการ ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานคนเดียว ใช้ keyboard, เม้าส์ เป็นอุปกรณ์นำข้อมูลเข้า ใช้เครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก, จอภาพ เป็นอุปกรณ์นำข้อมูลออก OS : CP/M  DOS  Windows 3.x  Windows 95  Windows 98  Windows ME  Windows NT  Windows 2000  Windows XP

9. ระบบเวอร์ชวลแมชีน (Virtual Machine) หลักการ ระบบที่ทำให้ผู้ใช้หลายคนทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว แต่ผู้ใช้คิดว่าทำงานกับคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ex.ระบบเมนเฟรมที่ทำให้ผู้ใช้ที่ terminal ของตนคิดว่าเป็นเจ้าของแต่เพียงลำพัง ใช้เทคนิคการจัดเวลา CPU และความจำเสมือน คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรเซสพร้อมกัน แต่ละโปรเซสสามารถ execute ได้ด้วยโปรเซสเซอร์และหน่วยความจำเสมือนของตนเอง มีการแชร์ resource การแชร์ CPU

ไม่ใช่ Virtual machine Virtual machine โปรเซส Kernel Hardware Virtual Machine อินเตอร์เฟซ ไม่ใช่ Virtual machine Virtual machine

10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiproceesor System) หลักการ ระบบเดียวที่มี CPU มากกว่า 1 ตัว ใช้การสื่อสารระยะใกล้ ใช้บัส สัญญาณนาฬิกา หน่วยความจำ และ แชร์ device ร่วมกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ Output  ได้ Output เร็วขึ้น ใช้เวลาน้อยลง ประหยัดค่าใช้จ่ายเมื่อเปรียบเทียบกับระบบโปรเซสเซอร์เดี่ยวหลายระบบ  เก็บข้อมูลชุดเดียวกันบน disk ตัวเดียวเพื่อแชร์ข้อมูลจะดีกว่า

หลักการ(ต่อ) เพิ่มความน่าเชื่อถือให้ระบบ (reliability) ถ้ามี processor ตัวใดตัวหนึ่งทำงานผิดพลาด โปรเซสเซอร์ตัวอื่นทำงานทดแทนได้ทันที =Graceful Degradation) เรียกระบบนี้ว่า Fault-Tolerant โมเดลระบบมัลติโปรเซสเซอร์มี 2 แบบ  Symmetric-Multiprocessing = มัลติโปรเซสเซอร์แบบสมมาตร  Asymmetric-Multiprocessing = มัลติโปรเซสเซอร์แบบไม่สมมาตร Master Processor ควบคุมระบบและกำหนดงานให้กับ Processor ตัวอื่น (Slave Processor)

11. ระบบแบบกระจาย (Distributed System) หลักการ ระบบที่แยกเป็นระบบย่อย แต่ละระบบมี CPU 1 ตัว และมี device หรืออุปกรณ์อื่นๆ เป็นของตัวเอง มีหน่วยความจำเป็นของตัวเอง การติดต่อสื่อสารระหว่างระบบใช้ Bus สายโทรศัพท์ สาย UTP มีขนาดและฟังก์ชันของโปรเซสเซอร์ต่างกัน ประโยชน์ การแชร์ทรัพยากร เพิ่มความเร็วในการคำนวณ ความน่าเชื่อถือของระบบ ใช้ประโยชน์ของการติดต่อสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน

12. ระบบโต้ตอบฉับพลัน (Real-Time Systems) นิยมใช้กับงานทดลองวิทยาศาสตร์ ระบบภาพทางการแพทย์ งานควบคุมอุตสาหกรรม Real- Time มี 2 ระบบ ดังนี้ Hard real-time system (ทำงานได้เสร็จตรงตามเวลา) ไม่มี/มี Disk ขนาดเล็ก เก็บข้อมูลใน ROM Short real-time system (ขาด Deadline) มีประโยชน์กับการประยุกต์ใช้ใน Multimedia Virtual Reality และการสำรวจดาวเคราะห์ ระบบ Real-Time systems มีเวลาในการทำงานจำกัด ถ้าระบบไม่ให้ผลลัพธ์ ระบบจะล้มเหลว