การทำให้ดีขึ้น [improvement]

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันเบนซิน พ. ศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่า ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำ เข้า ผู้ส่งออก.
สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
ทรัพย์สินทางปัญญากับการส่งเสริมการประกอบธุรกิจการค้าและการตลาด
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
เสนอโดย สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ การประชุมคณะกรรมการผังเมือง เรื่อง การขอแก้ไขกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ. ศ.
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กฎหมายสิทธิบัตร (Patent Law).
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กฎหมายสิทธิบัตร (Patent Law).
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร & งานข้อมูลข่าวสาร
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
การขอโครงการวิจัย.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
การจัดการกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำให้ดีขึ้น [improvement] สิทธิบัตร Patent การออกแบบผลิตภัณฑ์ Design การประดิษฐ์ Invention ผลิตภัณฑ์ [product] กรรมวิธี [process] การทำให้ดีขึ้น [improvement] Kanya Hirunwattanapong 2008

สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ความคิดสร้างสรรค์ ทำให้ดีขึ้น Improvement ผลิตภัณฑ์ Product กรรมวิธี Process คุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่ ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือลักษณะกายภาพของสิ่งนั้นโดยไม่คำนึงว่าผลิตขึ้นอย่างไร ผู้ทรงสิทธิ บัตรผลิตภัณฑ์มีสิทธิแต่ผู้เดียว ในการใช้หรืออนุญาตให้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตสิ่งของนั้น คุ้มครองความคิดสร้าง สรรค์ที่นำไปสู่กรรมวิธีใหม่ในการผลิตสิ่งของ, คุ้มครองเฉพาะกรรมวิธีที่ขอรับสิทธิบัตรเท่านั้น คุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่นำไปสู่การทำให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์และกรรมวิธี

คุณสมบัติการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ [novelty – world-wide novelty] มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น [inventive step] สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม [industrial application] Kanya Hirunwattanapong 2008

ลักษณะการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ Patentable Inventions มาตรา 5-8 การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (New) การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นงานที่ปรากฏอยู่แล้ว (state of the art) 2. การประดิษฐ์ที่มีขั้นประดิษฐ์สูงขึ้น (inventive step) การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นที่ประจักษ์ง่ายแก่บุคคลที่มีความชำนาญในระดับสามัญสำหรับงานประเภทนั้น 3. การประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม (industrial application) สามารถใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม

สิ่งประดิษฐ์ใหม่ Novel Inventions ภายในเวลา 12 เดือน การเปิดเผยที่ผิดกฎหมาย หรือการเปิดเผยโดยผู้ประดิษฐ์ในงานแสดงสินค้ารปท.หรือ โดยราชการ ไม่ถือเป็นการเปิดเผยสาระสำคัญ วันยื่นคำขอฯ Filing Date - สิ่งประดิษฐ์ที่รู้จักหรือใช้แพร่หลายในประเทศ สาระสำคัญได้เปิดเผยในรูปสิ่งพิมพ์หรือ แสดงต่อสาธารณทั้งในและต่างประเทศ -ได้รับสิทธิบัตรแล้วทั้งในและต่างประเทศ -ยื่นขอรับฯในต่างประเทศมากกว่า18 เดือน -ยื่นขอรับฯทั้งในและต่างประเทศและมีการประกาศ โฆษณาคำขอฯ

รายการต้องระบุในคำขอรับสิทธิบัตร ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ ลักษณะและความมุ่งหมายการประดิษฐ์ รายละเอียดการประดิษฐ์ที่มีข้อความสมบูรณ์ รัดกุม ชัดแจ้งอันทำให้ผู้ ชำนาญในระดับสามัญสามารถทำและปฏิบัติตาม และต้องระบุวิธีการที่ดีที่สุด 4. ข้อถือสิทธิโดยชัดแจ้ง [claims] 5. รายการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง Kanya Hirunwattanapong 2008

ผู้ที่สามารถขอรับสิทธิบัตรไทย (เมื่อมีคุณสมบัติครบตามมาตรา ๑๔) ผู้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์ตามสัญญาจ้าง การประดิษฐ์ร่วมกัน การประดิษฐ์อย่างเดียวกัน

การประดิษฐ์ที่ไม่ได้รับการคุ้มครองตาม ก.ม. สิทธิบัตรนี้ จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช 2. กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3. ระบบข้อมูลสำหรับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. วิธีการวินิจฉัย บำบัด หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์ 5. การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัย หรือสวัสดิภาพ ของประชาชน Kanya Hirunwattanapong 2008

บุคคลที่จะขอรับสิทธิบัตร (มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง) มีสัญชาติไทย หรือเป็นนิติบุคคลที่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งในไทย สัญชาติของประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญา หรือความตกลง ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิบัตรที่ไทยเป็นภาคีอยู่ด้วย 3. มีสัญชาติของประเทศที่ยินยอมให้คนสญชาติไทยฯ ขอรับสิทธิบัตรได้ 4. มีภูมิลำเนา หรืออยู่ระหว่างการประกอบอุตสาหกรรมหรือ พาณิชยกรรมอย่างแท้จริงในไทย หรือประเทศที่เป็นภาคีฯ Kanya Hirunwattanapong 2008

วันขอรับฯในไทย อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร สิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (Exclusive Right) มาตรา 35, 36 20 ปี วันขอรับฯในไทย สิทธิในการผลิต, ใช้, ขาย, มีไว้เพื่อขายเสนอขาย หรือนำเข้าประเทศซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร หรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร ผู้ทรงสิทธิบัตรใช้สิทธิเด็ดขาดเอง หรือ อนุญาตให้คนอื่นใช้สิทธิ

ข้อยกเว้นสิทธิเด็ดขาด – ในประเด็นการสิ้นสิทธิ (Exhaustion of Right/First Sale) มาตรา 36 วรรค 2(7) “การใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร หากผู้ทรงสิทธิบัตรได้อนุญาต หรือยินยอมให้ผลิต หรือขายผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว” การนำเข้าซ้อน (Parallel Import) การนำเข้าสินค้าที่ผลิต/วางขายถูกต้องตามกฎหมายเข้ามายังประเทศ คู่ขนานกับเจ้าของสิทธิบัตรที่ได้ผลิตสินค้านั้น

การใช้สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร ม.48ว.2 (Exclusive Licensee) อนุญาตให้ใช้สิทธิ ม.38/40/41/45/47/47ทวิ ม.48ว.2 (Exclusive Licensee) การใช้สิทธิเอง ม.36/37/40/43/44 การโอนสิทธิ ม. 38/42 ถูกบังคับให้ใช้สิทธิ ม. 46/48/50 ทวิ ม. 51 การอนุญาต – การโอนสิทธิ ต้องทำเป็นหนังสือจดทะเบียน ม. ๔๑ รัฐใช้เองเพื่อประโยชน์สาธารณูปโภค และภาวะสงคราม ม. 50/51

การใช้สิทธิตามข้อถือสิทธิ และการป้องกันการละเมิด ม. 47/47 ทวิ ยื่นคำขอใช้สิทธิตาม สิทธิบัตร 2 ผู้ทรงสิทธิบัตร 1 ผู้ทรงสิทธิบัตร 2 ยื่นคำขอใช้สิทธิตาม สิทธิบัตร 2 ผู้ทรงสิทธิบัตร 2 ผู้ได้รับอนุญาตใช้สิทธิ จากการบังคับฯ ม.46

ขอบเขตของสิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (ม. 36 ทวิ กฎกระทรวง ฉ ขอบเขตของสิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (ม. 36 ทวิ กฎกระทรวง ฉ. 21, 2542) ข้อถือสิทธิ รายละเอียดการประดิษฐ์ รูปเขียน การตีความของขอบเขตข้อถือสิทธิ “ขอบเขตการประดิษฐ์ที่ได้รับความคุ้มครองย่อมคลุมถึงลักษณะของการประดิษฐ์ที่แม้จะมิได้ระบุในข้อถือสิทธิโดยเฉพาะเจาะจงแต่เป็นสิ่งที่มีคุณสมบัติประโยชน์ใช้สอยและทำให้เกิดผลทำนองเดียวกับลักษณะของการประดิษฐ์ที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญฯ ...”

มาตรการควบคุมการใช้สิทธิตามสิทธิบัตร (การบังคับใช้สิทธิ – compulsory licensing) 1. การบังคับใช้สิทธิโดยเอกชน (ม. 46) เจ้าของสิทธิบัตรไม่ใช้สิทธิบัตรตนให้เกิดประโยชน์ตามเวลาที่ก.ม. กำหนด ทั้งนี้มี ผู้พยามขออนุญาตใช้สิทธิพร้อมเสนอค่าตอบแทน เช่นนี้ อธิบดีวินิจฉัยอนุญาตได้ 2. การบังคับสิทธิโดยรัฐ (ม. 51) เพื่อป.ย. การสาธารณูปโภค ... หรือการป้องกันบรรเทาการขาดแคลนอาหารยา ... อย่าง รุนแรง ... กระทรวง ทบวง กรม อาจใช้สิทธิตาม ม. 36 โดยทำเองหรือให้คนอื่นทำ ... แต่ต้องเสียค่าตอบแทนแก่เจ้าของสิทธิบัตร Kanya Hirunwattanapong 2008

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ Design Patent การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อการอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ต่อไปนี้ ไม่เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ แบบผลิตภัณฑ์ที่มีใช้แพร่หลายแล้วในไทยก่อนวันยื่นขอรับฯ การเปิดเผยภาพ สาระสำคัญ รายละเอียดในเอกสาร ที่เผยแพร่แล้ว ทั้งใน/นอกไทย ก่อนวันยื่นฯ 3. แบบผลิตภัณฑ์ที่เคยมีประกาศโฆษณาแล้ว 4. แบบผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับแบบผลิตภัณฑ์ฯ ข้างต้น จนเห็นว่าเป็นการเลียนแบบ Kanya Hirunwattanapong 2008

สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ สิทธิบตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ มีอายุการคุ้มครอง 10 ปี นับแต่วันยื่นขอรับสิทธิบัตร สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภณฑ์ ใช้ ... ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในไทยซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ใช้แบบผลิตภัณฑ์ ข้อยกเว้นสิทธิเด็ดขาด การใช้แบบผลิตภัณฑ์เพื่อประโยชน์ในการศึกษา วิจัย Kanya Hirunwattanapong 2008

อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) การประดิษฐ์ ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (world-wide novelty) เป็นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม (industrial application) อนุสิทธิบัตรมีอายุ 6 ปี นับแต่วันยื่นฯ สามารถต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ปี สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของอนุสิทธิบัตร มีเช่นเดียวกับสิทธิบัตรทั่วไป รวมถึงข้อยกเว้น และมาตรการควบคุมการใช้สิทธิเด็ดขาด Kanya Hirunwattanapong 2008

องค์การระหว่างประเทศที่บริหารกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา World Trade Organisation WTO 1995 World Intellectual Property Organisation WIPO 1970 WIPO & WTO Agreement Trade Related Aspects of Intellectual Property Rights TRIPS Agreement

Trade Related Aspects of Intellectual Property Rights TRIPS Agreement Section 5: Patents Article 27 การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้/สิ่งที่ไม่อาจรับสิทธิบัตรได้ Article 28 สิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร Article 29 เงื่อนไขการขอรับสิทธิบัตร Article 30 ข้อยกเว้นของสิทธิเด็ดขาด Article 31 การใช้สิทธิบัตรโดยไม่ได้รับอนุญาต Article 32 การเพิกถอนสิทธิบัตร Article 33 อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร