งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายสิทธิบัตร (Patent Law).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายสิทธิบัตร (Patent Law)."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายสิทธิบัตร (Patent Law)

2 การใช้สิทธิเด็ดขาด (Exclusive Right) การละเมิด (Infringement)
การได้มาซึ่งสิทธิ (ทรัพย์) การใช้สิทธิเด็ดขาด (Exclusive Right) การละเมิด (Infringement) ข้อยกเว้น

3 การทำให้ดีขึ้น [improvement]
สิทธิบัตร Patent การออกแบบผลิตภัณฑ์ Design ผลิตภัณฑ์ [product] กรรมวิธี [process] การทำให้ดีขึ้น [improvement] Kanya Hirunwattanapong 2008

4 Product v. Design รูปร่างของผลิตภัณฑ์ หรือองค์ประกอบของลวดลายหรือสีของผลิตภัณฑ์อันมีลักษณะพิเศษ ฎ 9733/2552 บริษัทดีคอนโปรดักส์ จำกัด (มหาชน) (โจทก์) และ กรมทรัพย์สินทางปัญญา (จำเลย)

5 สิทธิบัตรการประดิษฐ์
ความคิดสร้างสรรค์ ทำให้ดีขึ้น Improvement ผลิตภัณฑ์ Product กรรมวิธี Process คุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่ ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือลักษณะกายภาพของสิ่งนั้นโดยไม่คำนึงว่าผลิตขึ้นอย่างไร ผู้ทรงสิทธิ บัตรผลิตภัณฑ์มีสิทธิแต่ผู้เดียว ในการใช้หรืออนุญาตให้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตสิ่งของนั้น คุ้มครองความคิดสร้าง สรรค์ที่นำไปสู่กรรมวิธีใหม่ในการผลิตสิ่งของ, คุ้มครองเฉพาะกรรมวิธีที่ขอรับสิทธิบัตรเท่านั้น คุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่นำไปสู่การทำให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์และกรรมวิธี

6 What we learn from here? เราเรียนรู้อะไรบ้างจากจุดนี้
การให้การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา หรือการให้สิทธิเด็ดขาด (exclusive right) ก.ม. กำหนดประเภท (subject matter) และคุณสมบัติการได้มาซึ่งสิทธิ กล่าวคือ กฎหมายกำหนดว่าการใช้ความคิดของมนุษย์ (mental labour) ที่เป็นการประดิษฐ์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ เท่านั้นที่อยู่ภายใต้การคุ้มครองตามกฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายสิทธิบัตรไม่ได้กำหนดสาขาความรู้ที่จะได้มาซึ่งการประดิษฐ์ กล่าวคือ การประดิษฐ์จะเป็นผลผลิตจากศาสตร์ด้านใดก็ได้ เคมี ชีวะ ฟิสิกซ์ ฯลฯ แต่ขอให้มีคุณสมบัตรการประดิษฐ์ทั้ง 3 ประการ

7 อาทิ สิทธิบัตรโจทก์เป็นการประดิษฐ์ลูกตะกร้อพลาสติค ลูกตะกร้อพลาสติคนั้นจะผลิตมาด้วยกรรมวิธีอย่างไรไม่สำคัญ หากผลลัพธ์คือลูกตะกร้อพลาสติคเหมือนตามสิทธิบัตรแล้วถือว่าผลิตภัณฑ์นั้นหากผลิตโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ทรงสิทธิบัตรตะกร้อนั้นถือว่าเป็นการผลิตโดยละเมิดสิทธิบัตรตะกร้อ ฎ 3523/2537 กฎหมายสิทธิบัตรกำหนดให้ภาระการพิสูจน์การละเมิดสิทธิบัตรกรรมวิธีเป็นของผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำละเมิด (มาตรา 77) อาทิ สิทธิบัตรกรรมวิธีผลิตข้อต่อแบบเชิงกลของแท่งเหล็กเส้นเสริมแรงสำหรับคอนกรีตฎ 3770/2546 บริษัทเทตนิพอร์ต เอส.เอ จำกัด กับพวก (โจทก์) และ บริษัทเอเบอร์สไปลส์ (ประเทศไทย) จำกัด (จำเลย) Use New Patent? คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7119/2552

8 คุณสมบัติการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้
การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ [novelty – world-wide novelty] มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น [inventive step] สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม [industrial application] Kanya Hirunwattanapong 2008

9 ลักษณะการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ Patentable Inventions มาตรา 5-8
การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (New) การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นงานที่ปรากฏอยู่แล้ว (state of the art) การประดิษฐ์ที่มีขั้นประดิษฐ์สูงขึ้น (inventive step) การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นที่ประจักษ์ง่ายแก่บุคคลที่มีความชำนาญในระดับสามัญสำหรับงานประเภทนั้น 3. การประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม (industrial application) สามารถใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม

10 คดีไม้หมวกรองเสาเข็ม ฎ 2703/2546
การเปิดเผยสาระสำคัญ - ศาลฎีกาในคดี 4783/2549 ตำรายาหัวกวาวเครือของหลวงอนุสารสุนทร การมีขั้นประดิษฐ์ที่สูงขึ้น ฎ 829/2549 นายเอกธรรม ไทพัฒนะพฤติวงศ์ (โจทก์) และ นายวิสิฐ ทักษไพบูลย์ (จำเลย) ** แม้ว่าการประดิษฐ์ทั้งสองมีการทำงานในทำนองเดียวกัน แต่การประดิษฐ์ตามสิทธิบัตรนั้นนำมาประกอบกันทำให้เกิดมีลักษณะการใช้สอยที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมไปจากเดิม ในลักษณะที่ไม่เป็นที่ประจักษ์โดยง่าย – New Use? ฎ 4131/2536 บริษัทที.เอ็ม.ดี. จำกัด (โจทก์) และ นายธีรศักดิ์ สถิตย์วิทยากุล (จำเลย) - การประดิษฐ์ไม่ได้แก้ปัญหา ฎ 8993/2547 ฮิตาชิ เอลทีดี (โจทก์) และ นายวรารักษ์ ชั้นสามารถกับพวก (จำเลย)

11 การประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น (Inventive Step)
ฎ 3113/2553 บริษัทเต๊กซ์ตร้า เอเซีย จำกัด (โจทก์) ขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นพิจารณาตาม “ข้อถือสิทธิ” ในสิทธิบัตร มีผู้เชี่ยวชาญเบิกความเป็นพยาน – ชั่งน้ำหนักพยาน – เห็นว่าไม่มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นเพราะประจักษ์โดยง่าย – การเปรียบเทียบขั้นทางเทคนิคนั้นไม่ใช่เปรียบเทียบเฉพาะของโจทก์และจำเลย แต่จะเปรียบเทียบกับที่ปรากฏอยู่แล้ว

12 สิ่งประดิษฐ์ใหม่ Novel Inventions
ภายในเวลา 12 เดือน การเปิดเผยที่ผิดกฎหมาย หรือการเปิดเผยโดยผู้ประดิษฐ์ในงานแสดงสินค้ารปท.หรือ โดยราชการ ไม่ถือเป็นการเปิดเผยสาระสำคัญ วันยื่นคำขอฯ Filing Date - สิ่งประดิษฐ์ที่รู้จักหรือใช้แพร่หลายในประเทศ สาระสำคัญได้เปิดเผยในรูปสิ่งพิมพ์หรือ แสดงต่อสาธารณทั้งในและต่างประเทศ -ได้รับสิทธิบัตรแล้วทั้งในและต่างประเทศ -ยื่นขอรับฯในต่างประเทศมากกว่า18 เดือน -ยื่นขอรับฯทั้งในและต่างประเทศและมีการประกาศ โฆษณาคำขอฯ

13 What we learn from here? เราเรียนรู้อะไรบ้างจากจุดนี้
คุณสมบัติทั้งสามประการของการเป็นการประดิษฐ์ที่สามารถได้รับจดสิทธิบัตรนั้น เป็นการประกันว่า การประดิษฐ์ที่ได้รับสิทธิบัตรนั้นเป็นสิ่งที่ดีมีประสิทธิภาพแท้จริง เป็นการยืนยันว่า สิทธิเด็ดขาด (exclusive right) ที่ให้กับผู้ทรงสิทธิบัตรเพื่อแสวงประโยชน์ทางเศรษฐกิจเป็นเวลา 20 ปี (นับตั้งแต่วันยื่ยจดฯ) นั้น สังคมหรือผู้บริโภคได้ “การประดิษฐ์” ใหม่ๆ และสังคมได้เรียนรู้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์นั้น (ผ่านรายละเอียดการประดิษฐ์ที่ต้องแถลงไว้ตามเงื่อนไขของกฎหมาย) ณ เวลานั้น

14 การแสดงการประดิษฐ์ก่อนการยื่นขอรับสิทธิบัตรที่ไม่กระทบคุณสมบัติความใหม่ของการประดิษฐ์ (Grace Period & Priority Date) มาตรา 19, 19 ทวิ (ต่างจากมาตรา 6 วรรคท้าย/ มาตรา 19 เป็นการแสดงการประดิษฐ์ เพื่อได้ปย.จากวันยื่นคำขอฯ) แสดงการประดิษฐ์ต่อสาธารณชนที่หน่วยงานรัฐเป็นผู้จัดหรืออนุญาตให้จัดภายในประเทศ ทั้งนี้ ผู้มีสิทธิยื่นขอสิทธิบัตรต้องยื่นขอฯภายใน 12 เดือน นับตั้งแต่วันเปิดงาน เช่นนี้แล้วให้ถือว่าวันเปิดงานเป็นวันยื่นคำขอรับสิทธิบัตร บุคคลตามมาตรา 14 ได้ยื่นขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์นั้นครั้งแรกนอกประเทศไทย และได้มายื่นขอรับสิทธิบัตรในประเทศไทยภายใน 12 เดือน นับแต่ยื่นครั้งแรกนั้น บุคคลดังกล่าวจะขอระบุให้วันยื่นครั้งแรกนอกประเทศเป็นวันยื่นในประเทศก็ได้

15 รายการต้องระบุในคำขอรับสิทธิบัตร
ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ ลักษณะและความมุ่งหมายการประดิษฐ์ รายละเอียดการประดิษฐ์ที่มีข้อความสมบูรณ์ รัดกุม ชัดแจ้งอันทำให้ผู้ ชำนาญในระดับสามัญสามารถทำและปฏิบัติตาม และต้องระบุวิธีการที่ดีที่สุด 4. ข้อถือสิทธิโดยชัดแจ้ง [claims] 5. รายการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง Kanya Hirunwattanapong 2008

16 บุคคลที่จะขอรับสิทธิบัตร
(มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง) มีสัญชาติไทย หรือเป็นนิติบุคคลที่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งในไทย สัญชาติของประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญา หรือความตกลง ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิบัตรที่ไทยเป็นภาคีอยู่ด้วย 3. มีสัญชาติของประเทศที่ยินยอมให้คนสญชาติไทยฯ ขอรับสิทธิบัตรได้ 4. มีภูมิลำเนา หรืออยู่ระหว่างการประกอบอุตสาหกรรมหรือ พาณิชยกรรมอย่างแท้จริงในไทย หรือประเทศที่เป็นภาคีฯ Kanya Hirunwattanapong 2008

17 ผู้ที่สามารถขอรับสิทธิบัตรไทย (เมื่อมีคุณสมบัติครบตามมาตรา ๑๔)
ผู้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์ตามสัญญาจ้าง การประดิษฐ์ร่วมกัน การประดิษฐ์อย่างเดียวกัน

18 การประดิษฐ์ที่ไม่ได้รับการคุ้มครองตาม ก.ม. สิทธิบัตรนี้
จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช 2. กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3. ระบบข้อมูลสำหรับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. วิธีการวินิจฉัย บำบัด หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์ 5. การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัย หรือสวัสดิภาพ ของประชาชน Kanya Hirunwattanapong 2008

19 ในปี 1980 ศาลสูงสหรัฐได้พิพากษาให้the patentee has produceda new bacterium with markedly different characteristics from any found in nature and one having the potential for significant utility. His discovery is not nature's handiwork, but his own; accordingly it is patentable subject matter under 101. Dimond v. Chakrabarty 447 U.S. 303 (1980) Onco Mouse …The United States Patent Office (USPTO) in 1988 granted a patent no. 4,736,866 to Harvard College claiming "a transgenic non-human mammal whose germ cells and somatic cells contain a recombinant activated oncogene sequence introduced into said mammal…"  อย่างไรก็ดี ประเทศคานาดาให้สิทธิบัตรกรรมวิธีแก่ Oncomouse แต่ไม่ให้สิทธิบัตรแก่ตัวหนู โดยให้เหตุผลว่าหนูดังกล่าวก็ยังคงเป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งกฎหมายห้ามไว้ สิ่งที่กฎหมายสิทธิบัตรอนุญาตคือ การประดิษฐ์ และหรือองค์ประกอบของสิ่งของ (composition of matter) ซึ่งต้องไม่ใช่สิ่งมีชีวิต

20 วันขอรับฯในไทย อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร
สิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (Exclusive Right) มาตรา 35, 36 20 ปี วันขอรับฯในไทย สิทธิในการผลิต, ใช้, ขาย, มีไว้เพื่อขายเสนอขาย หรือนำเข้าประเทศซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร หรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร ผู้ทรงสิทธิบัตรใช้สิทธิเด็ดขาดเอง หรือ อนุญาตให้คนอื่นใช้สิทธิ

21 เมื่อครบอายุการคุ้มครองสิทธิบัตร หรือเมื่อคืนสิทธิบัตร
เมื่อครบอายุการคุ้มครองสิทธิบัตร หรือเมื่อคืนสิทธิบัตร .. ข้อมูลความรู้ตามสิทธิบัตรนั้นตกเป็นสาธารณะสมบัติ (Public Domain) กล่าวคือ บุคคลอื่นสามารถผลิตการประดิษฐ์ตามสิทธิบัตรดังกล่าวโดยไม่ต้องจ่ายค่าตอบแทนการใช้สิทธิ เปิดโอกาสให้มีการผลิตการประดิษฐ์นั้นมากขึ้น ราคาถูกลงเพราะไม่มีค่าตอบแทนการใช้สิทธิบัตร

22 ข้อยกเว้นสิทธิเด็ดขาด – ในประเด็นการสิ้นสิทธิ (Exhaustion of Right/First Sale)
มาตรา 36 วรรค 2(7) “การใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร หากผู้ทรงสิทธิบัตรได้อนุญาต หรือยินยอมให้ผลิต หรือขายผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว” การนำเข้าซ้อน (Parallel Import) การนำเข้าสินค้าที่ผลิต/วางขายถูกต้องตามกฎหมายเข้ามายังประเทศ คู่ขนานกับเจ้าของสิทธิบัตรที่ได้ผลิตสินค้านั้น

23 อาทิ Case 15/74 Centrafarm BV v. Sterling Drug Inc. [1974] ECR 1147
Sterling Drug Inc มีสิทธิบัตรยารักษาการติดเชื้อในท่อปัสสวะทั้งในประเทศอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ แต่ยาที่ขายที่อังกฤษมีราคาต่ำกว่ามากเพราะข้อกฎหมายที่อังกฤษ Centrafarm BV ซื้อยาจำนวนมากที่อังกฤษและนำเข้าสู่เนเธอร์แลนด์ Sterling Drug Inc จึงฟ้องละเมิด Centrafarm BV ว่าละเมิดสิทธิบัตรเนเธอร์แลนด์ของเขา ในคดีนี้ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป (the European Court of Justice: ECJ) การที่ผู้ทรงสิทธิบัตรยังควบคุมตัวสินค้าที่วางจำหน่ายแล้วก็จะขัดกับหลักการแข่งขันทางการค้า และมีผลเป็นการแบ่งตลาดเดี่ยวของสหภาพยุโรปที่เป็นการขัดต่อวัตถุประสงค์ของการเป็นตลาดเดี่ยว ศาลจึงจำกัดสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรที่ “การขายครั้งแรก” First Sale ทำให้สิทธิในสิทธิบัตรในประเทศอื่นๆสิ้นสุดลงด้วย

24 การใช้สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร ม.48ว.2 (Exclusive Licensee)
อนุญาตให้ใช้สิทธิ ม.38, 39/40/41/45/47/47ทวิ ม.48ว.2 (Exclusive Licensee) การใช้สิทธิเอง ม.36/37/40/43/44 การโอนสิทธิ ม. 38/42 ถูกบังคับให้ใช้สิทธิ ม. 46/48/50/50 ทวิ ม. 51 การอนุญาต – การโอนสิทธิ ต้องทำเป็นหนังสือจดทะเบียน ม. ๔๑ รัฐใช้เองเพื่อประโยชน์สาธารณูปโภค และภาวะสงคราม ม. 50/51

25 การใช้สิทธิตามข้อถือสิทธิ และการป้องกันการละเมิด ม. 47/47 ทวิ
ยื่นคำขอใช้สิทธิตาม สิทธิบัตร 2 ผู้ทรงสิทธิบัตร 1 ผู้ทรงสิทธิบัตร 2 ยื่นคำขอใช้สิทธิตาม สิทธิบัตร 2 ผู้ทรงสิทธิบัตร 2 ผู้ได้รับอนุญาตใช้สิทธิ จากการบังคับฯ ม.46

26 ขอบเขตของสิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (ม. 36 ทวิ กฎกระทรวง ฉ
ขอบเขตของสิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (ม. 36 ทวิ กฎกระทรวง ฉ. 21, 2542) ข้อถือสิทธิ รายละเอียดการประดิษฐ์ รูปเขียน การตีความของขอบเขตข้อถือสิทธิ “ขอบเขตการประดิษฐ์ที่ได้รับความคุ้มครองย่อมคลุมถึงลักษณะของการประดิษฐ์ที่แม้จะมิได้ระบุในข้อถือสิทธิโดยเฉพาะเจาะจงแต่เป็นสิ่งที่มีคุณสมบัติประโยชน์ใช้สอยและทำให้เกิดผลทำนองเดียวกับลักษณะของการประดิษฐ์ที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญฯ ...”

27 มาตรการควบคุมการใช้สิทธิตามสิทธิบัตร
(การบังคับใช้สิทธิ – compulsory licensing) 1. การบังคับใช้สิทธิโดยเอกชน (ม. 46) เจ้าของสิทธิบัตรไม่ใช้สิทธิบัตรตนให้เกิดประโยชน์ตามเวลาที่ก.ม. กำหนด ทั้งนี้มี ผู้พยามขออนุญาตใช้สิทธิพร้อมเสนอค่าตอบแทน เช่นนี้ อธิบดีวินิจฉัยอนุญาตได้ 2. การบังคับสิทธิโดยรัฐ (ม. 51) เพื่อป.ย. การสาธารณูปโภค ... หรือการป้องกันบรรเทาการขาดแคลนอาหารยา ... อย่าง รุนแรง ... กระทรวง ทบวง กรม อาจใช้สิทธิตาม ม. 36 โดยทำเองหรือให้คนอื่นทำ ... แต่ต้องเสียค่าตอบแทนแก่เจ้าของสิทธิบัตร Kanya Hirunwattanapong 2008

28 การฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการกระทำละเมิดที่เกิดก่อนการออกสิทธิบัตร
(มาตรา 35 ทวิ) Granted Filing Date Publish the Application

29 การยื่นขอรับสิทธิบัตรผ่านระบบ Patent Cooperation Treaty (PCT)
ประเทศไทยตกลงเป็นภาคีสมาชิกของ the Patent Cooperation Treaty (PCT) วันที่ 24 ธันวาคม 2009 PCT บริหารโดยองค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual Property Organization: WIPO) ระบบการยื่นขอรับผ่านระบบ PCT นั้น ไม่ใช่ระบบของการพิจารณาให้สิทธิบัตร แต่ระบบนี้จะทำให้ลดขั้นตอนที่ผู้ยื่นขอรับสิทธิบัตรจะต้องไปยื่นขอฯเพื่อให้การประดิษฐ์ได้รับความคุ้มครองในประเทศต่างๆ สำนักงานสิทธิบัตรที่กรุงเทพฯ จะเป็นสำนักงานรับแบบการยื่นฯ โดยทำเป็นภาษาอังกฤษและวันที่ยื่นฯ ณ สำนักงานสิทธิบัตรที่กรุงเทพจะถือเป็นวันที่ยื่นวันแรก (Priority Date) ที่รับรองกันในบรรดาประเทศภาคีสมาชิกสำหรับการประดิษฐ์นั้น

30 Overview of the procedure
About the EPO Overview of the procedure Filing of a first application at a national office Priority period (month) 12 International phase Filing of a single "international application" at a single "receiving Office" designating all PCT states National grants by "designated Offices" in/for PCT states ...national phases 30/31* International processing including centralized search, examination and publication added value: limiting costs, improving and facilitating... ...subsequent processing in... = 18

31 Benefits of the PCT The PCT facilitates obtaining patent protection in multiple states Single application procedure => saving time/money for anyone seeking protection in multiple states Postponing major costs Getting prepared for grant procedures (amendments 2x) BUT: Centralised filing system; not centralised granting system => Only partially unified procedure for obtaining patent protection

32 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ Design Patent
การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อการอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ต่อไปนี้ ไม่เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ แบบผลิตภัณฑ์ที่มีใช้แพร่หลายแล้วในไทยก่อนวันยื่นขอรับฯ การเปิดเผยภาพ สาระสำคัญ รายละเอียดในเอกสาร ที่เผยแพร่แล้ว ทั้งใน/นอกไทย ก่อนวันยื่นฯ 3. แบบผลิตภัณฑ์ที่เคยมีประกาศโฆษณาแล้ว 4. แบบผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับแบบผลิตภัณฑ์ฯ ข้างต้น จนเห็นว่าเป็นการเลียนแบบ Kanya Hirunwattanapong 2008

33

34 สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
สิทธิบตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ มีอายุการคุ้มครอง 10 ปี นับแต่วันยื่นขอรับสิทธิบัตร สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภณฑ์ ใช้ ... ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในไทยซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ใช้แบบผลิตภัณฑ์ ข้อยกเว้นสิทธิเด็ดขาด การใช้แบบผลิตภัณฑ์เพื่อประโยชน์ในการศึกษา วิจัย Kanya Hirunwattanapong 2008

35 แบบผลิตภัณฑ์จึงมุ่งพิจารณารูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์
ฎ 3914/2549 นายเจนชัย สยนานนท์ (โจทก์) และ บริษัทมาร์ควิส จำกัด (จำเลย) แบบผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตรของโจทก์เป็นหน้าปัดนาฬิกา ลักษณะกลุ่มเข็มเป็นอุปกรณ์ในการใช้ตักอาหาร จำเลยเป็นตัวเลข เป็นรูปสองมิติมีชื่อภาษาอังกฤษประกอบ ดังนั้นมีความแตกต่างในสาระสำคัญ จำเลยไม่ได้ละเมิดสิทธิบัตรโจทก์ การมีวัตถุประสงค์ของแบบของสินค้าเพื่อประโยชน์การใช้งาน (technicality or functionality) ไม่ถือเป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามกฎหมายนี้ ทป. 50/2548 บริษัทท๊อปยูเนี่ยน จำกัด (โจทก์) และ กรมทรัพย์สินทางปัญญา (จำเลย)

36 คำพิพากษาศาลฎีกาที่  6869/2557 บริษัทอีสเทิร์น โพลีแพค   จำกัดโจทก์ v บริษัทไทยโพลี พลาสแพ็ค จำกัด กับพวก จำเลย แบบ ผลิตภัณฑ์ถ้วยน้ำตามสิทธิบัตรของโจทก์ ระบุข้อถือสิทธิว่า “ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้แก่ รูปร่าง ล้กษณะ และลวดลาย ของถ้วยนํ้า ด้งรายละเอียดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ์ที่ได้ เสนอมานี้” โดยมีภาพในมุมต่าง ๆ ของถ้วยนารวม 5   ภาพ ซึ่งเมื่อพิจารณา แบบดดังกล่าวเปรียบเทียบกับแบบผลิตภัณฑ์ถ้วยนี้ ตามเอกสารหรือสิ่งพิมพ์นอกราชอาณาจักรแล้ว แบบผลิตภัณฑ์ถ้วยนํ้าตามสิทธิบัตรของโจทก์ มีรูปร่างลักษณะของถ้วยนํ้าเหมือนกัน กล่าวคือ มีรูปลักษณะของถ้วยนาเป็นรูปทรงกรวยขนาดของปากถ้วยกว้างกว่าก้นถ้วยเหมือนกัน จำนวนขั้นบันไดรอบถ้วยที่มากกว่าและบ่าสันโค้งบริเวณปากถ้วยที่แปลกออกไปถือไม่ได้ว่าเป็นข้อแตกต่างในสาระสำคัญ แบบผลิตภัณฑ์ถ้วยนี้ของโจทก์จึงคล้ายกับแบบผลิตภัณฑ์ถ้วยน้ำที่ได้มีการเขตเผยภาพ สาระสำคัญหรือรายละเอียดในเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ที่ได้เผยแพร่อยู่แล้ว นอกราชอาณาจักรก่อนวันขอรับสิทธิบัตร จนเห็นได้ว่าเป็นการเลียนแบบ

37 อนุสิทธิบัตร (Petty Patent)
การประดิษฐ์ ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (world-wide novelty) เป็นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม (industrial application) อนุสิทธิบัตรมีอายุ 6 ปี นับแต่วันยื่นฯ สามารถต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ปี สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของอนุสิทธิบัตร มีเช่นเดียวกับสิทธิบัตรทั่วไป รวมถึงข้อยกเว้น และมาตรการควบคุมการใช้สิทธิเด็ดขาด Kanya Hirunwattanapong 2008

38 องค์การระหว่างประเทศที่บริหารกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
World Trade Organisation WTO 1995 World Intellectual Property Organisation WIPO 1970 WIPO & WTO Agreement Trade Related Aspects of Intellectual Property Rights TRIPS Agreement

39 Trade Related Aspects of Intellectual Property Rights
TRIPS Agreement Section 5: Patents Article 27 การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้/สิ่งที่ไม่อาจรับสิทธิบัตรได้ Article 28 สิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร Article 29 เงื่อนไขการขอรับสิทธิบัตร Article 30 ข้อยกเว้นของสิทธิเด็ดขาด Article 31 การใช้สิทธิบัตรโดยไม่ได้รับอนุญาต Article 32 การเพิกถอนสิทธิบัตร Article 33 อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร

40 First to File First to Invent


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายสิทธิบัตร (Patent Law).

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google