รับมือ Re-accreditation by QA nurses 20 มกราคม 2559 ห้องประชุมเทศบาลสันทรายหลวง
เป้าหมายของผู้เยี่ยมสำรวจ 1. การบรรลุวัตถุประสงค์ 2. ผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น 3. ความเชื่อมโยงของระบบงานต่าง ๆ 4. การประเมินประสิทธิภาพของโรงพยาบาล 5. วัฒนธรรมความปลอดภัย,คุณภาพ,การเรียนรู้ 6. การสร้างนวัตกรรม 7. Good Practice , Best Practice
Spectrum การพัฒนาคุณภาพ CQI QA RM
6 QI Tracks & 4 Domains 1. Unit Optimization 2. Patient Safety 3. Clinical Population 4. Standard Implementation 4 Domains ของการพัฒนา คือการมองพื้นที่การพัฒนาตามโครงสร้างการทำงาน ได้แก่ หน่วยงาน/หน่วยบริการ, กลุ่มผู้ป่วย, ระบบงาน และองค์กร ช่วยในการตรวจสอบความสมบูรณ์ของการพัฒนา ช่วยให้มองเห็นความสัมพันธ์ของพื้นที่การพัฒนาและลดความซ้ำซ้อนในการพัฒนา 6 Tracks ของการพัฒนา เป็นการให้แนวทางการนำเครื่องมือการพัฒนาที่สอดคล้องกับแต่ละพื้นที่ไปสู่การปฏิบัติเป็นลำดับขั้น ทำให้สามารถวางแผนและติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาได้ดีขึ้น การพัฒนาในระดับหน่วยงาน/หน่วยบริการ เป็นพื้นฐานของการพัฒนาที่เป็นระบบขององค์กร สามารถใช้คำเรียกกิจกรรมการพัฒนาทั้งหมดในระดับนี้ว่า Unit Optimization การพัฒนาในระดับกลุ่มผู้ป่วย หรืออาจเรียกให้ครอบคลุมกว้างขึ้นว่า การพัฒนาการดูแลผู้ป่วย/การพัฒนาคุณภาพทางคลินิก เริ่มต้นจากการนำปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยแต่ละรายมาวิเคราะห์และวางแนวทางป้องกัน การตามรอยผู้ป่วยแต่ละรายเพื่อเรียนรู้คุณภาพการดูแลในแต่ละจุด ไปสู่การศึกษาวิเคราะห์ภาพรวมของคุณภาพการดูแลในแต่ละกลุ่มโรค จึงสรุปไว้เป็น 2 track คือ patient safety และ clinical population การพัฒนาในระดับระบบงาน เป็นการใช้ 3C-PDSA เพื่อพัฒนาระบบงานต่างๆ โดยใช้มาตรฐานของแต่ละระบบควบคู่กับการวิเคราะห์บริบทของตน การพัฒนาในระดับองค์กร มี track ที่เกี่ยวข้องคือการบริหารเชิงกลยุทธ์ซึ่งเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้นำ และการประเมินตนเองเพื่อให้เห็นความก้าวหน้าในวุฒิภาวะของการพัฒนา และเป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารสู่ความเป็นองค์กรเรียนรู้ 5. Strategic Management 6. Self Assessment
กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล การเชื่อมโยง กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล หอผู้ป่วย/หน่วยงาน PCT/ทีมนำ
มาตรฐาน HA/HPH (2006) มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี
มาตรฐานสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร I-3 การมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน (PCF) ตอนที่ II ระบบงานสำคัญของโรงพยาบาล II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ (RSQ) II-2 การกำกับดูแลด้านวิชาชีพ (PFG) II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV) II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) II-5 ระบบเวชระเบียน (MRS) II-6 ระบบการจัดการด้านยา (MMS) II-9 การทำงานกับชุมชน (COM)
มาตรฐานสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล(ต่อ) ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ (ACN) III-2 การประเมินผู้ป่วย (ASM) III-3 การวางแผน (PLN) III-4 การดูแลผู้ป่วย (PCD) III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย/ครอบครัว (IMP) III-6 การดูแลต่อเนื่อง (COC)
ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III - 4 การดูแลผู้ป่วย III - 6 การดูแลต่อเนื่อง III - 3.1 วางแผนดูแลผู้ป่วย III - 2 การประเมินผู้ป่วย III - 5 การให้ข้อมูลและเสริมพลัง III - 3.2 วางแผนจำหน่าย
การทบทวนเพื่อค้นหาโอกาสพัฒนา การทบทวนเวชระเบียน รับเข้า Entry ประเมินผู้ป่วย Assessment วางแผน Planning ดูแลตามแผน Implementation ประเมินผล Evaluation จำหน่าย Discharge การทบทวนข้างเตียง การทบทวนอื่นๆ การทบทวนคำร้องเรียนของผู้ป่วย การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ (เสียชีวิต ภาวะแทรกซ้อน) การค้นหาความเสี่ยง การทบทวนศักยภาพ (การส่งต่อ การตรวจรักษา) การติดเชื้อในโรงพยาบาล การใช้ยา การใช้ทรัพยากร การใช้ความรู้วิชาการ – gap analysis ตัวชี้วัด Care & Risk Communication Continuity & D/C plan Team work HRD Environment & Equipment กิจกรรมทบทวนคุณภาพ เป็นพื้นฐานสำคัญของการเรียนรู้คุณภาพที่ควรทำให้ง่าย ไม่ติดรูปแบบ ทำให้อยู่ในงานประจำ ทำให้ครอบคลุมมากที่สุด ไม่สำคัญว่าทบทวนด้วยวิธีไหน และสำคัญว่าเอาผลการทบทวนไปเรียนรู้และพัฒนาอย่างไร การทบทวนข้างเตียง (bedside review) ควรทำทุกวัน ทำทุกโอกาส ทำคนเดียว ทำร่วมกับทีม ใช้ C3THER เป็นแนวทางโดยเลือกประเด็นทบทวนที่สอดคล้องกับปัญหาของผู้ป่วย สามารถครอบคลุมเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพด้วย HELP ควรมีส่วนทำให้บันทึกเวชระเบียนปกติสมบูรณ์ขึ้น (ไม่ต้องมีแบบบันทึกพิเศษ) และควรมีการสรุปบทเรียนสำคัญจากการทบทวน การทบทวนเวชระเบียน ควรตระหนักว่ามี 3 ลักษณะ (1) ทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึก (2) ทบทวนการปฏิบัติตามข้อกำหนด/มาตรฐาน (3) ทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย ควรให้เจ้าของไข้มีส่วนร่วมหรือรับรู้ การทบทวนคำร้องเรียน สามารถทำได้ในภาพรวมของโรงพยาบาล การทบทวนเหตุการณ์สำคัญ สามารถเชื่อมโยงได้กับการใช้ trigger tool การค้นหาความเสี่ยง ควรค้นหาด้วยการตามรอยในสถานที่จริง และการวิเคราะห์ความเสี่ยงในขั้นตอนต่างๆ การทบทวนการส่งต่อ ถือว่าเป็นหัวใจสำคัญสำหรับโรงพยาบาลชุมชน การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า ควรสัมพันธ์กับลักษณะงาน โดยวิเคราะห์ว่าตรงไหนมีโอกาสเป็นจุดอ่อน และจะให้ใครเข้ามาเสริม การทบทวนการติดเชื้อในโรงพยาบาล ควรตามรอยการปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้ และติดตามอัตราการติดเขื้อจากการเฝ้าระวัง การทบทวนการใช้ยา ควรครอบคลุมทั้งโอกาสเกิด error/ADE และความเหมาะสมในการสั่งใช้ การทบทวนการใช้ทรัพยากร (utilization review) ควรเลือกจุดที่มีโอกาสใช้ทรัพยากรที่มีมูลค่าสูง การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ สามารถเชื่อมโยงกับ clinical tracer การทบทวนตัวชี้วัด สามารถเชื่อมโยงกับ service profile และ clinical tracer Holistic Empowerment Lifestyle Prevention 10 10
C3THER
C3THER
C3THER
C3THER
C3THER
C3THER
C3THER
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย ตรงไหนยังเป็นจุดอ่อน ?
การประเมินภาพรวมของการพัฒนาทั้งองค์กร 3P : Basic Building Block ของคุณภาพ Purpose Process Performance จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร 3P ในงานประจำวัน 3P ในโครงการพัฒนาคุณภาพ 3P ในระดับหน่วยงาน (service profile) 3P กับการพัฒนาระบบงาน 3P กับการดูแลผู้ป่วย (clinical tracer) 3P กับการบริหารองค์กร (strategic management) แนวคิดหรือหลักการสำหรับการพัฒนาคุณภาพที่เรียบง่ายที่สุด เมื่อทบทวนวิธีการพัฒนาคุณภาพที่ใช้ในบริบทต่างๆ แล้ว จะพบว่าสิ่งที่เป็นพื้นฐานร่วมกันสามารถสรุปอยู่ได้ที่ 3P คือ Purpose-Process-Performance กล่าวคือการทำงานหรือการพัฒนาทุกเรื่องประกอบด้วยการมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีกระบวนการที่ดีเพื่อบรรลุเป้าหมาย และมีการรับรู้การบรรลุเป้าหมาย เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงให้ดีขึ้น การใช้แนวคิดหรือหลักการร่วม เสมือน basic building block ทำให้ง่ายในการทำความเข้าใจกับการพัฒนาคุณภาพ หรือการประเมินว่าการพัฒนาคุณภาพนั้นเป็นไปอย่างเหมาะสมเพียงใด การใช้โมเดลที่เรียบง่าย ทำให้ตัดสิ่งที่รุงรังหรืองานเอกสารที่ไม่จำเป็นออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสิ่งแวดล้อมที่ทุกคนต้องรับภาระงานประจำมาก การคิดถึง 3P ในงานประจำวัน ทำให้ทุกคนร่วมกันสร้างคุณภาพในงานประจำของแต่ละคน ซึงเมื่อนำมารวมกันแล้ว จะก่อให้เกิดคุณภาพโดยรวมของหน่วยงานหรือระบบงานได้ 3P ในโครงการพัฒนาคุณภาพ เทียงเคียงได้กับ model ตั้งเป้า-เฝ้าดู-ปรับเปลี่ยน (Aim-Measure-Improve) ของ IHI 3P ในระดับหน่วยงาน คือการใช้ service profile เพื่อวิเคราะห์และติดตามงานในหน้าที่ของหน่วยงาน มีการกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ มีการวิเคราะห์กระบวนการหลักรวมทั้งความเสี่ยงและโอกาสพัฒนาในแต่ละกระบวนการ มีการกำหนดและติดตามตัวชี้วัด รวมทั้งการปรับปรุงที่สอดคล้องกับเป้าหมายหรือประเด็นสำคัญของหน่วยงาน 3P กับการพัฒนาระบบงาน คือการทำความเข้าใจเป้าหมายของระบบงาน การใช้มาตรฐานเป็นแนวทางในการทำงานหรือปรับปรุงกระบวนการที่เกี่ยวข้อง การประเมินประสิทธิภาพของระบบงาน 3P กับการดูแลผู้ป่วย คือการใช้ clinical tracer ในการประเมินสถานการณ์ทั้งด้านบวกและด้านลบของการดูแลผู้ป่วยแต่ละโรค มีการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญและวัตถุประสงค์ในการดูแลผู้ป่วยโรคที่จะตามรอย การตามรอยกระบวนการดูแลแต่ละขั้นตอน การตามรอยกระบวนการพัฒนาคุณภาพ การตามรอยผลลัพธ์ เพื่อนำมาสู่การปรับปรุงที่เหมาะสม 3P กับการบริหารองค์กร คือการกำหนดเป้าประสงค์ของแผนกลยุทธ์ตามพันธกิจและความท้าทายขององค์กร การดำเนินการตามแผนในระบบงาน/แผนงาน/โครงการที่สำคัญ การติดตามผลการดำเนินงาน
การเยี่ยมสำรวจ (survey) คือการสำรวจ รวบรวม ข้อมูล/ร่องรอย/หลักฐาน รอบด้าน วิเคราะห์ สรุปผล จัดทำรายงาน เป้าหมาย: ยืนยันผลการประเมินตนเอง, กระตุ้นการพัฒนา
ผู้เยี่ยมสำรวจไม่ได้มาทำอะไร ผู้เยี่ยมสำรวจมาทำอะไร ผู้เยี่ยมสำรวจไม่ได้มาทำอะไร มาในฐานะ generalist ซึ่งมีความรู้เรื่องกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางในด้านเทคนิค มาด้วยหมวกสามใบ คือตัวแทนของผู้รับบริการ ผู้รู้เรื่องกระบวนการพัฒนาคุณภาพ และผู้แทนของวิชาชีพที่ให้บริการ ไม่ได้มาประเมินทางวิชาชีพใน เชิงลึก มาเพื่อยืนยันผลการประเมินตนเองของโรงพยาบาล ไม่ได้มาตัดสินผิดถูก หรือมาจับผิด
ผู้เยี่ยมสำรวจไม่ได้มาทำอะไร ผู้เยี่ยมสำรวจมาทำอะไร ผู้เยี่ยมสำรวจไม่ได้มาทำอะไร มาเพื่อวิเคราะห์ระบบงานในภาพรวม ไม่ได้มาเพื่อประเมินการทำงานของผู้ปฏิบัติงานแต่ละคน มาเพื่อกระตุ้นให้โรงพยาบาลเห็นตัวเอง เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของตัวเอง ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และชี้ให้เห็นโอกาสพัฒนาในมุมมองที่กว้างขึ้น ไม่ได้บงการว่าโรงพยาบาลจะต้องทำอย่างนั้นอย่างนี้ พยายามใช้เทคนิคการโค้ชแบบ non-directive คือตั้งคำถามเพื่อให้ทีมงานคิดหาคำตอบด้วยตัวเอง จะไม่ใช้เทคนิคแบบ directive หรือให้คำตอบตรงๆ แก่ทีมงาน ยกเว้นแต่จะเป็นการยกตัวอย่างเพื่อให้ทีมงานคิดต่อไปได้
มารู้จักความเสี่ยง กันดีกว่านะ !!!
II – 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ (Risk, Safety, and Quality Management System) Overall Req. มีระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกัน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ. Multiple Req. ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 1 ประสาน โปรแกรมความเสี่ยง ระบบสารสนเทศ 6 ประเมิน ประสิทธิผล ปรับปรุง แก้ปัญหา 3 5 4 ค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง กำหนดมาตรการป้องกัน, สื่อสาร, สร้างความตระหนัก ระบบรายงานอุบัติการณ์ รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ วิเคราะห์สาเหตุ 2 1 พัฒนาคุณภาพการดูแล สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทบทวนการดูแลผู้ป่วย 2 กำหนดกลุ่ม/วัตถุประสงค์ กำหนด KPI ใช้วิธีการที่หลากหลาย ข. คุณภาพการดูแลผู้ป่วย 3 4
การแบ่งประเภทของความเสี่ยง การแบ่งประเภทของความเสี่ยงที่เกิดจากการดูแลผู้ป่วย ความเสี่ยงทั่วไป : ความเสี่ยงหรือโอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งไม่พึงประสงค์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผู้ป่วย เช่น สิ่งแวดล้อม อัคคีภัย เครื่องมือ/อุปกรณ์ไม่พร้อมใช้งานโดยที่อุปกรณ์นั้นไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการดูแลผู้ป่วย สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม เครื่องมือขัดข้อง ชำรุด จนเกิดอันตราย การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับเจ้าหน้าที่และผู้ป่วย อัคคีภัย ไฟช็อต ตึกถล่มข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ ความเสี่ยงทางคลินิก (Clinical Risk) : เป็นความเสี่ยงกว้างๆเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือการดูแลรักษาที่อาจเกิดอันตรายหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์กับผู้ป่วยโดยทั่วไป รายใดก็ได้ โดยไม่ระบุจำเพาะโรคและสามารถใช้มาตรการเดียวในการป้องกันความเสี่ยงในภาพรวมได้ ความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค (Specific Clinical Risk) : ความเสี่ยงใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผู้ป่วยและอาจเกิดภาวะไม่พึงประสงค์หรือเสียชีวิตโดยระบุจำเพาะโรคและภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับโรคนั้น ๆ
ตัวอย่างประเภทของความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป ความผิดพลาดในการสื่อสาร และการระบุตัวผู้ป่วย ความผิดพลาดของการวินิจฉัย ความผิดพลาดของการวางแผนการดูแลรักษาพยาบาล ความผิดพลาดหรืออุบัติเหตุในการให้การรักษาพยาบาล อาการหรือภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดหรือการทำหัตถการ อาการข้างเคียงจากการใช้ยา หรือการให้เลือด การติดเชื้อในโรงพยาบาล
ตัวอย่างของความเสี่ยงทางคลินิกทั่วไป ความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลที่สำคัญทางคลินิก การละเลยในการให้การดูแลสุขภาพผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ/เอกซ์เรย์ผิดพลาด การให้เลือดผิดคน การให้ยาผิดพลาด การให้สารน้ำผิดพลาด การติดเชื้อในโรงพยาบาล แผลกดทับ ตกเตียง ฆ่าตัวตาย/ถูกฆาตกรรม
ตัวอย่างของความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค Disease/condition/procedure Clinical risk/AE Pregnancy induced hypertension Eclampsia / convulsion Postpartum hemorrhage Hypovolemic shock Severe birth asphyxia Hysterectomy/Blood Tx Labour Birth trauma Ectopic pregnancy Rupture uterine Rupture ectopic pregnancy Preterm LBW
ตัวอย่างของความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค (ต่อ) Disease/condition/procedure Clinical risk/AE Head injuries IICP/Herniation Acute appendicitis Ruptured Appendicitis Multiple trauma Shock UGIB Rebleeding /Hypovulemic Shock Nephorlitthotomy Pain, SSI (Surgical Site Infection)
ตัวอย่างของความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค (ต่อ) Disease/condition/procedure Clinical risk/AE Myocardial Infarction Shcok/CHF Cerebrovacular Disease IICP/Rebleeding Tuberculosis Relapse/Reinfection Diabetic Diabetic foot, Diabetic Retinopathy, Diabetic Nephropathy
ตัวอย่างของความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค (ต่อ) Disease/condition/procedure Clinical risk/AE DHF Hemorrhage, Shock High Fever Convulsion Diarrhea Hypovolemic Shock, Electrolyte Imbalance Asthma Respiratory Failure
Patient Safety Goals / Guides : SIMPLE SSI Prevention Safe Anesthesia Correct Procedure at Correct Site Surgical Safety Checklist Safe Surgery Hand Hygiene Prevention of CAUTI, VAP, Central line infection Infection Control Safe from ADE, conc e’lyte, High-Alert Drug Safe from medication error, LASA Medication Reconciliation Tackling antimicrobial resistance Blood Safety Medication & Blood Safety Patient Identification Communication (SBAR, handovers, critical test results, verbal order, abbreviation) Proper Diagnosis Preventing common complications (Pressure Ulcers, Falls) Patient Care Process Patient Safety Goals/Guides : SIMPLE ในการประชุม HA National Forum ครั้งที่ 7 เมื่อปี 2549 พรพ.ได้นำเสนอ Patient Safety Goals (PSG) เพื่อชักชวนให้ รพ.ที่พัฒนาคุณภาพมีความตระหนักร่วมกันถึงโอกาสเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่สำคัญ นำส่วนคล้ายมาชูเป็นจุดเน้นเพื่อให้เกิดบทเรียนร่วมกัน โดยประมวลประเด็นความเสี่ยงสำคัญมาจาก JCAHO, IHI และของประเทศไทยเอง จัดทำแนวทางเบื้องต้นให้ รพ.ได้ศึกษาและประยุกต์ใช้ และนำมาแลกเปลี่ยนกัน โดยให้ รพ.พิจารณาให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาของตนเอง ในการประชุม HA National Forum ครั้งที่ 9 เมื่อปี 2551 พรพ.ได้ปรับโครงสร้างของ Patient Safety Goals เพื่อให้สามารถรองรับประเด็นความปลอดภัยใหม่ๆ ที่องค์การอนามัยโลกและหน่วยงานต่างๆ ชี้แนะเพิ่มขึ้น โดยแบ่งเป็น 6 กลุ่ม เรียกง่ายๆ ว่า SIMPLE ซึ่งย่อมาจาก safe surgery, infection control, medication & blood safety, patient care process, line/tubing/catheter, emergency response ในปี 2553 มีการเพิ่ม PSG อีกข้อหนึ่งคือ tackling antimicrobial resistance ซึ่งเป็น 3rd global patient safety challenge ที่องค์การอนามัยโลกกำหนด เนื้อหาใน SIMPLE มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของผู้ป่วยมากกว่า 30 ประเด็น พรพ.จึงแนะนำให้มอง SIMPLE ในอีกมุมหนึ่ง คือการใช้เป็น patient safety guides นำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติและติดตามการปฏิบัติ เนื่องจากเมื่อมองในลักษณะเป้าหมายความปลอดภัยแล้ว รพ.มักจะจำกัดจำนวนองค์ประกอบให้อยู่ในจำนวนที่สามารถวัดผลได้ SIMPLE ได้รับการส่งเสริมให้นำไปใช้ตามรอยการปฏิบัติเพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติจริง และต่อมาแนวทางนี้เป็นส่วนหนึ่งของ clinical self enquiry การเยี่ยม รพ.เพื่อรับรู้และเรียนรู้คุณภาพในปีงบประมาณ 2552 ได้ส่งเสริมให้ รพ.ทำ gap analysis เปรียบเทียบการปฏิบัติกับข้อแนะนำใน SIMPLE เพื่อกระตุ้นให้เกิดการนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง Line, Tubing, Cathether Mis-connection Sepsis Acute Coronary Syndrome Maternal & Neonatal Morbidity Response to the Deteriorating Patient / RRT Emergency Response
นโยบายความเสี่ยง กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล
รับมือ Accredit อย่างไร ?
ระดับของการประเมินตนเอง ระดับโรงพยาบาล Hospital Profile 2008 ร่วมกับข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ การประเมินตนเองตามมาตรฐานทั้ง 4 ตอน ระดับ CLT/PCT Service Profile ของ PCT ซึ่งครอบคลุมหอผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง Clinical Tracer ที่สำคัญของทีม ระดับหน่วยงาน Service Profile ของหน่วยงาน/หน่วยบริการ (เฉพาะหน่วยงานที่มิได้มีข้อมูลอยู่ใน Service Profile ของ CLT)
(Core Values & Concepts) Service Profile กรอบที่ใช้กำกับการพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละหน่วยในองค์กร หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concepts) ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด บริบท ความต้องการ ของผู้รับผลงาน ข้อกำหนด ทางวิชาชีพ จุดเน้น ขององค์กร ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ตัวชี้วัด Study Performance Purpose พันธกิจ/เจตจำนง (หน้าที่ & เป้าหมาย) Do Act วัตถุประสงค์ ปรับปรุง Process Service Profile เป็นเครื่องมือสำหรับวางแผนติดตามการพัฒนาคุณภาพและการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน ข้อคิดเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จาก Service Profile ได้เต็มที่ มีดังต่อไปนี้ มองให้เห็น 3P ใน Service Profile เพื่อใช้เป็นตัวเชื่อมโยงการทำกิจกรรมและการวัดผล เข้ากับเป้าหมายของหน่วยงาน รูปแบบและถ้อยคำไม่สำคัญเท่ากับการนำมาทบทวนกันเป็นประจำภายในทีม รูปแบบอาจจะเป็น word, ตาราง หรือ powerpoint ตามแต่หน่วยงานจะคุ้นชิน แต่ขอให้กระชับและได้ใช้ประโยชน์ ใส่ใจในความหมาย ความสำคัญ และคุณค่าของแต่ละส่วน ด้วยการถามว่า คืออะไร สำคัญอย่างไร เราเข้าถึงหัวใจของเรื่องนั้นหรือยัง จะเอาไปใช้ประโยชน์อย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เป็นบริบทของหน่วยงาน ควรวิเคราะห์ตนเองให้เข้าถึงเอกลักษณ์ของหน่วยงาน ขณะเดียวกันนำหลักคิดสำคัญง่ายๆ ไปฝึกซ้อมปฏิบัติ พิจารณาประเด็นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพว่าหน่วยงานของเราสามารถมีบทบาทอะไรได้บ้าง กับผู้ป่วยทั่วไปหรือผู้ป่วยกลุ่มไหน ในขั้นตอนใดของการทำงาน พิจารณาความเชื่อมโยงของส่วนต่างๆ จากบริบท -> ประเด็นสำคัญ -> เจตจำนง/วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด -> กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ -> ผลลัพธ์ พร้อมทั้งการตรวจสอบย้อนกลับไปเทียบกับความต้องการของผู้รับผลงานและวัตถุประสงค์ ใช้ประโยชน์จาก Service Profile เสาะแสวงหาข้อเท็จจริงจากแหล่งข้อมูลต้นกำเนิดมากขึ้น ตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับ เช่น ความต้องการของผู้รับผลงาน ความเสี่ยงในขั้นตอนต่างๆ วิเคราะห์และวางแผนอย่างเป็นระบบ รวมทั้งการเชื่อมโยงกับระบบงานสำคัญ ติดตามความก้าวหน้า ทั้งในส่วนกระบวนการและผลลัพธ์ บันทึกผลงานการพัฒนา ใช้สร้างการเรียนรู้ภายในทีมงาน ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการ ความคาดหวัง Plan กระบวนการหลัก ออกแบบระบบ โรค/หัตถการสำคัญ (เฉพาะบริการดูแลผู้ป่วย) ประเด็นย่อยในแต่ละ กระบวนการ/โรค
การเยี่ยมหน่วยงาน Trace Patient Care Unit Trace Drug & IM & IC Trace ENV & Equipment & HRD Community Visit
1. ระบบการรับแจ้งเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ การเยี่ยมสำรวจ : EMS 1. ระบบการรับแจ้งเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ความพร้อมของทีมหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน 3. ระบบการสั่งการที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทันเวลา 4. ความสามารถในการช่วยชีวิตฉุกเฉินของทีมช่วยชีวิต 5. ระบบการบันทึก (ความถูกต้องและสมบูรณ์) 6. การประสานงานกับเครือข่ายกู้ชีพ ตำรวจ 7. ความพร้อมของยานพาหนะ
8. ความพร้อมของอุปกรณ์ช่วยชีวิตบนรถพยาบาล การเยี่ยมสำรวจ : EMS 8. ความพร้อมของอุปกรณ์ช่วยชีวิตบนรถพยาบาล 9. การประเมินผู้ป่วย แนวทางดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 10. การพร้อมในการรับอุบัติเหตุหมู่ 11. การดูแลผู้ป่วยที่มีการแพร่กระจายเชื้อ 12. การจัดโครงสร้าง สิ่งแวดล้อมในหน่วยงานที่เอื้อต่อการทำงาน สะอาดและปลอดภัย 13. บัญชีความเสี่ยง รายงานอุบัติการณ์ตลอดจนการทบทวนความเสี่ยงที่สำคัญ
15. ผลงานการพัฒนาคุณภาพที่ภูมิใจและสามารถนำไปเป็นตัวอย่าง การเยี่ยมสำรวจ : EMS 14. ความเหมาะสมในการสร้างและติดตามตัวชี้วัดในการประเมินการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน 15. ผลงานการพัฒนาคุณภาพที่ภูมิใจและสามารถนำไปเป็นตัวอย่าง 16. แผนการพัฒนาคุณภาพที่จะจัดทำใน 1-2 ปีข้างหน้า 17. การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาล
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน การดูแลผู้ป่วย 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย 2. การประเมินและเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 3. การระบุตัวผู้ป่วยเน้นผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ผู้ป่วยสับสน เด็ก 4. การให้ข้อมูลการเจ็บป่วยแก่ผู้ป่วยและญาติ 5. การลงนามยินยอมรับการรักษา 6. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน, NCPR / CPR 7. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขาวิชาชีพ
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน การดูแลผู้ป่วย 8. การแก้ไขภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน 9. การเตรียมรับอุบัติเหตุหมู่ 10. ข้อบ่งชี้ของการทำหัตถการและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน 11. ความพร้อมของรถพยาบาลฉุกเฉินและทีมงาน 12. การดูแลผู้ป่วยทางคดี 13. การจัดการกรณีเสียชีวิต
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน การดูแลผู้ป่วย 14. การดูแลผู้ป่วยในระยะการแพร่กระจายเชื้อ 15. การดูแลผู้ป่วยขณะนำส่งหอผู้ป่วย 16. การประเมินความเหมาะสมในการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น 17. การปฏิบัติตามแนวทางมาตรฐาน CPG ที่กำหนด 18. การรับผู้ป่วยและส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลอื่น 19. การรักษาความลับผู้ป่วย 20. การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน การดูแลผู้ป่วย 21. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ 22. การจัดการบริหารบุคลากรเพื่อให้เพียงพอต่อการให้การบริการในหน่วยงาน
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยส่งต่อที่มีการติดเชื้อ 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 6. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น อุบัติเหตุหมู่, ช่วยฟื้นคืนชีพ 2 ราย, ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด, ผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงขณะนำส่ง 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย 4. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องช่วยหายใจ เครื่องติดตามสัญญาณชีพ
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ENV&Equib. 6. การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย 7. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน 6. การบริหารยาในเด็ก
การเยี่ยมสำรวจ : อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน 6. การนำเวชระเบียนมาทบทวนการตรวจโดยไม่ใช่ผู้ชำนาญ
การเยี่ยมสำรวจ OPD การดูแลผู้ป่วย การคัดกรองผู้ป่วย การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วยระหว่างรอตรวจ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่ต้องใช้การเฝ้าระวังสูง ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล ร่วมดูแลผู้ป่วยกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน การส่งต่อผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ OPD การดูแลผู้ป่วย การขอคำปรึกษาระหว่างแผนก การพัฒนาลดระยะเวลาการรอตรวจ การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและญาติ การดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ OPD ด้าน IC การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ การใช้น้ำยาทำความสะอาด การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ การได้วัคซีนป้องกันโรค ด้าน IC
การเยี่ยมสำรวจ OPD ด้าน RM การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวน เพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยอาการเปลี่ยนแปลงขณะรอตรวจ การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก ด้าน RM
การเยี่ยมสำรวจ OPD การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น อุปกรณ์การใส่ท่อช่วยหายใจ, เครื่องวัดความดัน การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ENV&Equib.
การเยี่ยมสำรวจ OPD บริหารยา การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา การบริหารยาค้าง stock การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน บริหารยา
การเยี่ยมสำรวจ OPD ทบทวน เวชระเบียน การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน การรักษาความลับในเวชระเบียน การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน ทบทวน เวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย การจัด zoning ในการดูแลผู้ป่วยแต่ละประเภท ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของผู้ป่วยที่รับไว้ในผู้ป่วยแต่ละประเภท ความพร้อมในภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วยทุกประเภท การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยก่อนจำหน่าย การดูแลผู้ป่วยให้ได้มาตรฐาน
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย การเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพผู้ป่วย (ในห้องพิเศษ) การทบทวนการให้ญาติช่วยในการเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพในผู้ป่วยทุกประเภท การดูแลผู้ป่วยแบบสหสาขาวิชาชีพ แนวทางการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย ด้าน IC การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีโรคในระยะแพร่กระจายเชื้อ การเฝ้าระวังการติดเชื้อในตำแหน่งเฝ้าระวังของ รพ. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ การเฝ้าระวังโรคการติดเชื้อทางเดินหายใจ การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง การเลือกใช้น้ำยาทำความสะอาด การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค การทำความสะอาดห้องแยกโรค
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย ด้าน RM การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยมีภาวะเปลี่ยนแปลงต้องย้ายเข้า หอผู้ป่วยวิกฤต ความคลาดเคลื่อนทางยา การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย ENV&Equib. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือรวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย บริหารยา การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด การบริหารยาในกลุ่ม High drug alert & Drug reconcile การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา การบริหารยาค้าง stock การให้วัคซีนที่จำเป็นแก่ทารก การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ หอผู้ป่วย ทบทวนเวชระเบียน การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน การรักษาความลับในเวชระเบียน การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 1. การระบุตัวทารก เด็กเล็ก 2. การประเมิน / จัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย 3. การลงนามยินยอมรับการรักษา 4. การรับและให้ข้อมูลแก่ญาติผู้ป่วย 5. การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในทารกและเด็ก เช่น Febrile convulsion Sepsis การดูแลผู้ป่วย 6. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน, NCPR / CPR
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 7. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น การสูญเสียสมรรถภาพ , การแจ้งทารกและเด็กเล็กเสียชีวิต 8. ข้อบ่งชี้ของการทำหัตถการและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน 9. การดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพ 10. การส่งเสริมสุขภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลผู้ป่วย 11. การส่งเสริมพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการ
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 12. การทำกิจกรรมฟื้นฟูทารกและเด็กเล็กกลุ่มเป้าหมายการติดตามเยี่ยมบ้าน 14. การส่งต่อผู้ป่วยกรณีผู้ป่วยซับซ้อน 15. การประสานงานการดูแลผู้ป่วยไข้เลือดออก 16. การทบทวนความรู้วิชาการในการดูแลผู้ป่วย 17. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ การดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ ด้าน IC 4. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 5. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 6. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 7. การมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการระบาดของโรคในชุมชน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด ผู้ป่วยไข้ชักในหอผู้ป่วย, ผู้ป่วยย้ายเข้าหอวิกฤติ 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง ด้าน RM 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย 4. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น ชุดใส่ท่อช่วยหายใจ เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องวัดความดันโลหิตเด็ก ENV&Equib. 6. การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย 7. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน บริหารยา 6. การบริหารยาในเด็ก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน ทบทวน เวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : ห้องคลอด การดูแลผู้ป่วย 1. การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย 2. การประเมินความเสี่ยงของผู้ป่วยความเสี่ยงสูง 3. การระบุตัวมารดาและบุตร 4. แนวทางการดูแลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน 5. ข้อบ่งชี้และแนวทางในการกระตุ้นการคลอดและทำหัตถการ 6. ความพร้อมในภาวะฉุกเฉินของมารดาและทารก
การเยี่ยมสำรวจ : ห้องคลอด ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเลือกใช้น้ำยาทำความสะอาด 3. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 4. การจัด Zone สะอาดและสกปรก 5. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 6. การจัดการรก 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : ห้องคลอด ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกของห้องคลอด
การเยี่ยมสำรวจ : ห้องคลอด ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : ห้องคลอด บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High drug alert 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การทบทวนการใช้ยาปฏิชีวนะหลังคลอดปกติ
การเยี่ยมสำรวจ : ห้องคลอด ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
ประเด็นคุณภาพ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การดูแลผู้ป่วย 1. การจัดลำดับความรุนแรงของมารดาหลังคลอด 2. การดูแลมารดาที่ความเสี่ยงสูง 3. ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของมารดาและทารกที่เฝ้าระวังพร้อมแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง 4. ความพร้อมในภาวะฉุกเฉินของมารดาและทารก 5. การเตรียมความพร้อมของมารดาก่อนจำหน่าย 6. กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
ประเด็นคุณภาพ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยหลังคลอด ด้าน IC 1. การเฝ้าระวังแผลติดเชื้อในมารดา / สะดือติดเชื้อในทารกทั้งขณะอยู่ใน รพ.และหลังจำหน่าย 2. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 3. การจัด Zone สะอาดและสกปรก 4. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 5. การเลือกใช้น้ำยาทำความสะอาด 6. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
ประเด็นคุณภาพ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยหลังคลอด ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกของห้องคลอด
ประเด็นคุณภาพ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยหลังคลอด ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
ประเด็นคุณภาพ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยหลังคลอด บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High drug alert 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การให้วัคซีนที่จำเป็นแก่ทารก
ประเด็นคุณภาพ : หอผู้ป่วยหลังคลอด การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยหลังคลอด ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม การดูแลผู้ป่วย 1. การจัดลำดับ / ประเมินความรุนแรงของผู้ป่วย 2. แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง 3. การให้-รับข้อมูลผู้ป่วย , การลงนามยินยอมรับการรักษา 4. ข้อบ่งชี้ของการทำหัตถการและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน 5. แนวทางการดูแลเรื่องสิทธิผู้ป่วย 6. การดูแลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 7. การเตรียมผู้ป่วยเพื่อผ่าตัด
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม การดูแลผู้ป่วย 8. แนวทางการป้องกันผู้ป่วยผ่าตัดผิดคน 9. การดูแลผู้ป่วยทางสูติกรรมก่อนคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน 10. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 11. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น มะเร็ง การสูญเสียสมรรถภาพ 12. การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและญาติ 13. การทำกิจกรรมฟื้นฟูผู้ป่วยและการติดตามเยี่ยมบ้าน 14. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. การเฝ้าระวังการบาดแผลผ่าตัด / การติดตามที่บ้าน 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 6. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด ผู้ป่วยแพ้เลือดหรือสารประกอบของเลือด 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยนรีเวชกรรม ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม การดูแลผู้ป่วย 1. การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก 2. แนวทางการตรวจเลือด HIV ก่อนการผ่าตัด 3. การลงนามยินยอมรับการผ่าตัด กรณีผู้ป่วยยังไม่บรรลุนิติภาวะ / ผู้ป่วยไม่รู้สติ 4. ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดหรือการทำหัตถการ 5. การเตรียมผู้ป่วยกรณีการผ่าตัดต้องสูญเสียอวัยวะ 6. การประเมินผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด / สหสาขาวิชาชีพ
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม การดูแลผู้ป่วย 7. การระบุผู้ป่วย การป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง 8. การดูแลผู้ป่วยหลังการผ่าตัด / ป้องกันภาวะแทรกซ้อน 9. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 10. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น มะเร็ง การสูญเสียสมรรถภาพ 11. การทำกิจกรรมฟื้นฟูผู้ป่วยและการติดตามเยี่ยมบ้าน 12. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. การเฝ้าระวังแผลผ่าตัดทั้งที่อยู่ รพ.และหลังจำหน่าย 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 6. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น การย้ายเข้าหอผู้ป่วยวิกฤตโดยไม่คาดคิด, การเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 4. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High drug alert 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ : ศัลยกรรม ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด การดูแลผู้ป่วย การเตรียมร่างกายและจิตใจผู้ป่วยก่อนผ่าตัด การให้ข้อมูลที่จำเป็นผู้ป่วยและญาติ / ทางเลือก การตรวจสอบการลงนามยินยอมรับการผ่าตัด ข้อบ่งชี้ของการทำผ่าตัดและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน แนวทางการดูแลผู้ป่วยขณะรอผ่าตัด, การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด การดูแลผู้ป่วย การจัดการชิ้นเนื้อทั้งส่วนที่ต้องส่งตรวจและส่วนที่ต้องทำการกำจัดทิ้ง การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน แนวทางการรับอุบัติเหตุหมู่ การป้องกันเครื่องมือและอุปกรณ์ตกค้างในตัวผู้ป่วย การคำนึงถึงสิทธิผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดและส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด ด้าน IC การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย การเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัด-หลังจำหน่าย เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด ด้าน IC การใช้น้ำยาทำความสะอาด การทำความสะอาดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้แล้ว การทำความสะอาดห้องผ่าตัดและเตียงผ่าตัดหลังผ่าตัดผู้ป่วยแต่ละราย การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด ด้าน RM การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตในห้องผ่าตัด ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนขณะผ่าตัด, ผ่าตัดซ้ำโดยไม่ได้วางแผน การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด ENV&Equib. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เตียงผ่าตัด, อุปกรณ์ผ่าตัด, เครื่องมือช่วยชีวิต การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด บริหารยา การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา การบริหารยาค้าง stock การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ ห้องผ่าตัด ทบทวนเวชระเบียน การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน การรักษาความลับในเวชระเบียน การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การเตรียมพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจก่อนผ่าตัด การลงนามยินยอมรับการดมยาสลบ การประเมินสภาวะก่อนการระงับความรู้สึก การให้ทางเลือกแก่ผู้ป่วยและครอบครัวในการตัดสินใจเลือกชนิดการระงับความรู้สึก ร่วมดูแลผู้ป่วยกับทีมสหสาขาวิชาชีพ การให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานอื่นในการดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การระบุผู้ป่วยก่อนทำการระงับความรู้สึกเพื่อป้องกันการผ่าตัดผิดคน การให้สารน้ำหรือสั่งยาก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินติดตามสภาวะของผู้ป่วยระหว่างระงับความรู้สึก การดูแลในช่วงพักฟื้น การเฝ้าระวังในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน การกำหนดข้อบ่งชี้ที่ต้องดูแลโดยวิสัญญีแพทย์ การติดตามเยี่ยมหลังระงับความรู้สึก การดูแลอาการปวดหลังผ่าตัด การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ การดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย การเฝ้าระวังการติดเชื้อจากการใส่ท่อหายใจ เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง การใช้น้ำยาทำความสะอาด การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรคการได้วัคซีนป้องกัน โรค ด้าน IC
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจไม่สำเร็จ, ภาวะแทรกซ้อนจากการดมยาสลบ, การช่วยฟื้นคืนชีพในห้องผ่าตัด, การเลื่อนผ่าตัดเนื่องจากความไม่พร้อมของการระงับความรู้สึก การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก ด้าน RM
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ เช่น เครื่องดมยาสลบ, เครื่องช่วยชีวิต, ระบบเตือนต่าง ๆ การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ENV&Equib.
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา การบริหารยาค้าง stock การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน การบริหารยาในเด็ก บริหารยา
การเยี่ยมสำรวจ งานวิสัญญี การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน การรักษาความลับในเวชระเบียน การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน ทบทวน เวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต การดูแลผู้ป่วย 1. ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วย 2. การระบุตัวผู้ป่วย การรับและให้ข้อมูลผู้ป่วย 3. การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย 4. การลงนามยินยอมรับการรักษา 5. ข้อบ่งชี้ของการทำหัตถการและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน 6. แนวทางการดูแลโรคความเสี่ยงสูงที่ต้องเฝ้าระวัง
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต การดูแลผู้ป่วย 7. การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 8. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น มะเร็ง การสูญเสียสมรรถภาพ , การแจ้งผู้ป่วยเสียชีวิต 9. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 10. การดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ 11. การย้ายผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย 12. แนวทางการดูแลเรื่องสิทธิผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต การดูแลผู้ป่วย 13. การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและญาติ 14. การทำกิจกรรมฟื้นฟูผู้ป่วยและการติดตามเยี่ยมบ้าน 15. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. การเฝ้าระวังการติดเชื้อทางเดินหายใจ เชื้อดื้อยา 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 6. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด ผู้ป่วยต้องใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำหลังถอดออกภายใน 1 วัน 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย 4. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องช่วยหายใจ เครื่องติดตามสัญญาณชีพ
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต ENV&Equib. 6. การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย 7. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤต ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม การดูแลผู้ป่วย 1. ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วย 2. การระบุตัวผู้ป่วย การรับและให้ข้อมูลผู้ป่วย 3. การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วยศัลยกรรม 4. แนวทางการตรวจเลือด HIV ก่อนการผ่าตัด 5. การลงนามยินยอมรับการผ่าตัด กรณีผู้ป่วยยังไม่บรรลุนิติภาวะ / ผู้ป่วยไม่รู้สติ 6. การเตรียมผู้ป่วยกรณีการผ่าตัดต้องสูญเสียอวัยวะ
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม การดูแลผู้ป่วย 7. การประเมินผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด / สหสาขาวิชาชีพ 8. ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดหรือการทำหัตถการ 9. การระบุผู้ป่วย การป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง 10. การดูแลผู้ป่วยหลังการผ่าตัด / ป้องกันภาวะแทรกซ้อน 11. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 12. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น มะเร็ง การสูญเสียสมรรถภาพ , การแจ้งผู้ป่วยเสียชีวิต
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม การดูแลผู้ป่วย 13. การดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ 14. การย้ายผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. การเฝ้าระวังแผลผ่าตัดทั้งที่อยู่ รพ.และหลังจำหน่าย 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 6. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด ผู้ป่วยต้องใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำหลังถอดออกภายใน 1 วัน 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย 4. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องช่วยหายใจ เครื่องติดตามสัญญาณชีพ
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม ENV&Equib. 7. การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย 8. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU การดูแลผู้ป่วย 1. ข้อบ่งชี้ในการรับผู้ป่วย 2. การระบุตัวทารก เด็กเล็ก 3. การจัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย 4. การลงนามยินยอมรับการรักษา 5. การรับและให้ข้อมูลแก่ญาติผู้ป่วย 6. การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในทารกแรกเกิด เช่น ROP BPD RDS NEC Sepsis
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU การดูแลผู้ป่วย 7. การดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ 8. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น การสูญเสียสมรรถภาพ, การแจ้งทารกและเด็กเล็กเสียชีวิต 9. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน, NCPR / CPR 10. ข้อบ่งชี้ของการทำหัตถการและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน 11. การดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพ, สูติกรรม
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU การดูแลผู้ป่วย 12. การส่งเสริมสุขภาพ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 13. การย้ายผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย 14. การส่งต่อทารกและเด็กเล็กกรณีผู้ป่วยซับซ้อน 15. การทำกิจกรรมฟื้นฟูทารกและเด็กเล็กกลุ่มเป้าหมายการติดตามเยี่ยมบ้าน 16. การส่งเสริมพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการ 17. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 3. การเฝ้าระวังการติดเชื้อสะดือทารก, VAP 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 6. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด ผู้ป่วยท่อช่วยหายใจหลุด, มารดาทิ้งทารก 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย 4. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 5. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องช่วยหายใจ เครื่องติดตามสัญญาณชีพ
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU ENV&Equib. 6. การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย 7. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน 6. การบริหารยาในเด็ก
การเยี่ยมสำรวจ : NICU & PICU ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การดูแลผู้ป่วย การจัดระบบการให้บริการผู้ป่วยไตเทียม การประเมินผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างรอล้างไตและระหว่างล้างไต การให้ข้อมูล-เตรียมผู้ป่วยก่อนรับการรักษา ข้อบ่งชี้ของการล้างไตและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน แนวทางการดูแลเรื่องสิทธิผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การดูแลผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน การส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและญาติ การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ การทำกิจกรรมฟื้นฟูผู้ป่วยและการติดตามเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม ด้าน IC การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง การใช้น้ำยาทำความสะอาด การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม ด้าน RM การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวน เพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด ผู้ป่วยต้องทำ CPR ระหว่างล้างไต การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม ENV&Equib. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ ระบบการไหลเวียนอากาศในหอผู้ป่วย ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น เครื่องล้างไต เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องติดตามสัญญาณชีพ การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม บริหารยา การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา การบริหารยาค้าง stock การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน
การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม การเยี่ยมสำรวจ ไตเทียม ทบทวนเวชระเบียน การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน การรักษาความลับในเวชระเบียน การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก การดูแลผู้ป่วย 1. การระบุตัวผู้ป่วยเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ 2. การประเมิน / จัดลำดับความรุนแรงของผู้ป่วย 3. การจัด zoning ในการดูแลผู้ป่วยแต่ละประเภท 4. การลงนามยินยอมรับการรักษา / ผ่าตัด 5. การรับและให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยกลุ่มพิเศษและญาติ 6. การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในเด็กและผู้สูงอายุในโรคกลุ่มเสี่ยง เช่น Deep neck infection, ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก การดูแลผู้ป่วย 7. การแจ้งผลการตรวจที่สำคัญ เช่น การสูญเสียสมรรถภาพ , การแจ้งผู้ป่วยเสียชีวิต 8. ข้อบ่งชี้ของการทำหัตถการและมาตรการป้องกันภาวะแทรกซ้อน 9. การดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพ การเตรียมผ่าตัด 10. การเตรียมผู้ป่วยผ่าตัดที่ต้องเสียอวัยวะ 11. แนวทางป้องกันการผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก การดูแลผู้ป่วย 12. การช่วยเหลือผู้ป่วยกรณีฉุกเฉิน 13. การส่งต่อผู้ป่วยกรณีผู้ป่วยซับซ้อน 14. การทบทวนความรู้วิชาการในการดูแลผู้ป่วย 15. การเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพผู้ป่วยในห้อง 16. การทบทวนการให้ญาติช่วยในการเฝ้าระวัง 17. การทำกิจกรรมฟื้นฟูผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายการติดตามเยี่ยมบ้าน 18. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก ด้าน IC 1. การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่อยู่ในระยะแพร่กระจาย 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อหลังผ่าตัด / ติดตามที่บ้าน 3. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย 4. เครื่องมือปราศจากเชื้อ / การทำความสะอาดเครื่องมือ 5. การใช้น้ำยาทำความสะอาด 6. การลำเลียงขยะติดเชื้อและผ้าเปื้อน / เส้นทางลำเลียง 7. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก ด้าน RM 1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงพร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดในรอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหาแนวทางปฏิบัติ เช่น ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยไม่คาดคิด , ผู้ป่วยย้ายเข้าหอวิกฤติ, ผู้ป่วยติดเชื้อจากการผ่าตัด 4. การประสานของหน่วยงานกับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก ENV&Equib. 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัยของอาคารสถานที่ 3. ระบบสำรองฉุกเฉิน น้ำ ไฟฟ้า ออกซิเจน 4. ความพร้อมและความพอเพียงของเครื่องมือ โดยเฉพาะเครื่องมือช่วยชีวิตสำคัญ เช่น ชุดใส่ท่อช่วยหายใจ เครื่องกระตุ้นหัวใจ เครื่องวัดความดันโลหิตเด็ก 5. การซ้อมแผน / ระงับอัคคีภัย 6. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก บริหารยา 1. การกำกับการใช้และการใช้ยาในกลุ่มยาเสพติด 2. การบริหารยาในกลุ่ม High alert drug 3. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การบริหารยาค้าง stock 5. การบริหารยาช่วยชีวิตฉุกเฉิน 6. การบริหารยาในเด็ก
การเยี่ยมสำรวจ : หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก ทบทวนเวชระเบียน 1. การพัฒนา / การออกแบบเวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ในการทบทวน 4. การรักษาความลับในเวชระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพในเวชระเบียน
เตรียมความพร้อมก่อน SURVEY เตรียมใจ เตรียมสถานที่ เตรียมข้อมูล&เอกสาร เตรียมผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน เตรียมทีม
คิดก่อนตอบว่าอยู่ มาตรฐานบทไหนบ้าง ถ้าไม่เข้าใจคำถาม ขอให้ถามอีกครั้ง เคล็ดลับการตอบ ตั้งใจฟังคำถามให้ดี คิดก่อนตอบว่าอยู่ มาตรฐานบทไหนบ้าง ถ้าไม่เข้าใจคำถาม ขอให้ถามอีกครั้ง ตอบเป็นระบบ
เคล็ดลับการตอบ เน้นตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริง เล่าถึงสิ่งที่ได้พยายามปรับปรุง สรุปผลหลังจากการปรับปรุง
เคล็ดลับการตอบ อย่าโกหก จงแสดงความสุจริตใจ อย่าโกหก จงแสดงความสุจริตใจ อย่าพูดความดีใส่ตัว ใส่ร้ายผู้อื่น อย่าหนีหน้า อย่าฝากปัญหาถึงผู้บริหาร อย่าแย่งกันตอบหรือตอบขัดแย้งกัน แต่เสริมกันได้
ไม่ทราบหรือไม่เคยนึกถึงมาก่อน เคล็ดลับการตอบ ถ้าไม่มีคำตอบ ขอบคุณ ไม่ทราบหรือไม่เคยนึกถึงมาก่อน สรุปประเด็นที่เป็นปัญหา แสดงให้ทีมเยี่ยมสำรวจทราบว่าเราเห็นโอกาสในการพัฒนาแล้ว
พร้อมสู้ ??