310101 Overview 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1.
Advertisements

การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
HP- HP Pavilion dv6-3022TX ราคา 59,900 บาท. CPU : Intel Core i7-720QM (1.60GHz/L3 6 MB/QPI) Memory : 8GB DDR3 Harddisk : 640 GB 5400RPM Graphics : ATi.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Information and Communication Technology Lab2
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี บริการ ) โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
1 ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและ องค์ประกอบ. 2 ระบบสื่อประสม (multimedia system)  ระบบสื่อประสม หมายถึง การนำ องค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆ มา ผสมผสานเข้าด้วยกัน.
แบบทดสอบ ก่อนเรียน – หลัง เรียน (Pre – Test) กลับ หน้า หลัก เริ่มทำ ข้อสอบ.
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า และ หน่วยส่งออก ( In put, Out put )
เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล.  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  …..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า.
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
วิชา ฮาร์ดแวร์ และการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ง33222
บทที่ 2 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อื่น ๆ
คอมพิวเตอร์..เทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน
Material requirements planning (MRP) systems
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
บทที่ 2 Input & Output Devices
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ
Information and Communication Technology Lab2
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Integrated Information Technology
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
โครงสร้างคอมพิวเตอร์ (Computer Organization)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
บทที่ 3 หน่วยความจำและสื่อบันทึกข้อมูล (Memory and storage)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

310101 Overview 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Information and Communication Technology Review 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Information System 1 Hardware 2 Software 3 Data 4 People 5 Procedure 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Computer System 1 Input 2 CPU 3 Memory 4 Output 5 Storage Input ---> Processing ---> Output 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Communication Technology 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

310101 Information and Communication Technology 13 July 2002 310101 Information and Communication Technology ตอนที่ 2 : Hardware โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ E-mail: wichai@buu.ac.th http://seashore.buu.ac.th/~wichai Email:wichai@buu.ac.th

Hardware Peripherals System unit 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Computer Hardware ฮาร์ดแวร์ คือลักษณะทางกายภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ System unit - ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ CPU chip Memory chip Peripheral devices - อุปกรณ์รอบข้าง Input devices Output devices Storage devices 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

Inside the System Unit 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit - CPU 13 July 2002 หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit - CPU CPU ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานและประมวลผลประกอบด้วย 2 ส่วน หน่วยควบคุม (Control unit - CU) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic/Logic Unit - ALU) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

CPU – Central Processing Unit 13 July 2002 CPU – Central Processing Unit Control unit (CU) ทำหน้าที่ในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ และสั่งการให้ทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมที่กำหนด Arithmetic/Logic Unit (ALU) ทำหน้าที่ในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณและการหาร และการเปรียบเทียบทางตรรกะ เช่น มากกว่า น้อยกว่า และเท่ากับ เป็นต้น 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

IC – Integrated Circuit 13 July 2002 IC – Integrated Circuit IC เป็นแผ่นหรือชิ้นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กมาก (chip) ที่ประกอบด้วยTransistor จำนวนเป็นพัน เป็นหมื่น เป็นล้านตัว เพื่อให้ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง IC ที่สร้างขึ้นมาเพื่อทำหน้าที่ควบคุมและประมวลผล เรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocesor) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 CPU Chip CPU chip เป็น Microprocessor ที่ประกอบด้วย Transistor ขนาดเล็กมาก ประมาณ 0.25-0.13 ไมครอน จำนวนเป็นล้านตัว (1 ไมครอน = 1 ส่วนล้านเมตร) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Microprocessor ปัจจุบัน 13 July 2002 Microprocessor ปัจจุบัน เครื่อง Microcomputer PC ปัจจุบันนิยมใช้ Microprocessor ตระกูล Pentium หรือ Celeron ของบริษัท Intel หรือ ตระกูลของบริษัท AMD เครื่อง Macintosh เครื่อง Workstation และเครื่อง Server บางรุ่นใช้ Microprocessor ตระกูล ของบริษัท Motorolla 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

การทำงานของ CU 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

การทำงานของ CU CU มีหน้าที่จัดการกับโปรแกรม 4 อย่าง ดังนี้ 13 July 2002 การทำงานของ CU CU มีหน้าที่จัดการกับโปรแกรม 4 อย่าง ดังนี้ • Fetch คือ การอ่านคำสั่งในโปรแกรมจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ใน ALU • Decode คือ การแปลความหมายของคำสั่งนั้นๆ ว่าต้องการให้ทำอะไร • Execute คือ สั่งให้ ALU การทำงานตามคำสั่งนั้น • Writeback คือ สั่งให้ ALU ส่งผลลัพธ์กลับไปยังหน่วยความจำหลัก และวนกลับไปทำขั้นตอน Fetch คำสั่งถัดไปจนกว่าจะหมดคำสั่ง 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 Machine cycle Microprocessor ทำงานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เมื่อมีการเคาะจังหวะ 1 ครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรมใน CPU 1 ครั้ง หรือ 1 รอบการทำงาน (Machine cycle) เราเรียกจำนวนรอบการทำงานในเวลา 1 วินาทีว่า "เฮิร์ท" (Hertz - Hz) และใช้เป็นหน่วยวัดความเร็วของ CPU 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Herzt - หน่วยวัดความเร็วของ CPU 13 July 2002 Herzt - หน่วยวัดความเร็วของ CPU เฮิร์ท (Hertz - Hz) เป็นหน่วยวัดความเร็วของ CPU หมายถึง จำนวนรอบการทำงานในเวลา 1 วินาที 1 KHz (KiloHerz) = 1,000 Hz 1 MHz (MegaHerz) = 1,000 KHz 1 GHz (GigaHerz) = 1,000 MHz เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีค่าเฮิร์ทมากก็ถือว่ามีประสิทธิภาพสูง 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Microprocessor speed ปัจจุบัน 13 July 2002 Microprocessor speed ปัจจุบัน CPU ในปัจจุบันมีความเร็วสูงมาก ส่วนใหญ่ตั้งแต่ประมาณ 1 GHz ขึ้นไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรุ่น ราคา และความต้องการใช้งาน เช่น CPU Intel Pentium IV 3.2 GHz หมายถึง CPU ของบริษัท Intel รุ่น Pentium Four ที่มีความเร็วในการทำงานประมาณ 3,200 ล้านครั้งต่อวินาที เป็นต้น 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 Memory หน่วยความจำ (Memory) ในเครื่องคอมพิวเตอร์มี 3 ประเภท ROM (Read Only Memory) RAM (Random access Memory) Cache Memory 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 Main Memory หน่วยความจำหลัก (Main Memory หรือ Primary storage) ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลหรือคำสั่ง ทั้งก่อนและหลังการประมวลผล เมื่อกล่าวถึงหน่วยความจำหลัก จะหมายถึง หน่วยความจำที่เรียกว่า RAM CPU จะประมวลผลข้อมูลหรือคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำหลัก เท่านั้น ดังนั้นก่อนการประมวลผล ข้อมูลหรือคำสั่งจะต้องถูกนำมาไว้ในหน่วยความจำก่อนเสมอ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 RAM RAM (Random Access Memory) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและคำสั่งที่รับเข้ามาจากหน่วยรับเข้า หรือจากหน่วยเก็บรองที่อยู่ภายนอก เพื่อรอการประมวลผลแล้ว ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการประมวลผล และข้อมูลเพื่อรอการส่งออก หรือรอนำไปเก็บไว้ในหน่วยเก็บรอง ในการประมวลผล ซีพียูจะถูกเรียกใช้โปรแกรมและข้อมูลจากแรม RAM จัดว่าเป็นที่เก็บประเภทลบเลือนได้ (volatile storage) จะเก็บโปรแกรมและข้อมูลไว้ได้เฉพาะในขณะที่มีไฟฟ้าหล่อเลี้ยง 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

ลักษณะของหน่วยความจำหลัก 13 July 2002 ลักษณะของหน่วยความจำหลัก หน่วยความจำหลัก (RAM) ทำด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ขนาดจิ๋ว ซึ่งใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เรียกว่า ชิปความจำ (Memory chip) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Address ของหน่วยความจำหลัก 13 July 2002 Address ของหน่วยความจำหลัก 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

ลักษณะของหน่วยความจำหลัก 13 July 2002 ลักษณะของหน่วยความจำหลัก ภายในหน่วยความจำหลักประกอบด้วยส่วนเล็กๆ มากมาย มีลักษณะคล้ายช่องของตู้ล็อกเกอร์ แต่ละช่องจะมีตัวเลขบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลตายตัว เรียกว่า แอดเดรส (Address) แต่ละช่องจะใช้เก็บข้อมูลหนึ่งตัวอักขระ เรียกว่า 1 ไบต์ (Byte) เมื่อไรก็ตามที่มีการเอาโปรแกรมหรือข้อมูลไปเก็บ จะต้องมีการกำหนดแอดเดรสให้เสมอ เพื่อที่ซีพียูจะสามารถเรียกใช้ได้ตามต้องการ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

พื้นที่ภายในหน่วยความจำหลัก 13 July 2002 พื้นที่ภายในหน่วยความจำหลัก 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

พื้นที่ภายในหน่วยความจำหลัก 13 July 2002 พื้นที่ภายในหน่วยความจำหลัก หน่วยเก็บหลักแบ่งพื้นที่ภายในออกเป็นส่วนๆ เพื่อทำหน้าที่เฉพาะ ได้แก่ ส่วนเก็บข้อมูลรับเข้า (input storage) ส่วนเก็บโปรแกรม (program storage) ส่วนเก็บผลส่งออก (output storage) ส่วนเก็บขณะใช้งาน (working storage) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

ความจุของหน่วยความจำหลัก 13 July 2002 ความจุของหน่วยความจำหลัก ความจุข้อมูลในหน่วยความจำหลัก มีหน่วยเป็นไบต์ (Byte) เนื้อที่ 1 ไบต์สามารถเก็บข้อมูลได้ 1 ตัวอักขระ (Character) ซึ่งอาจเป็น ตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายพิเศษ ก็ได้ หน่วยอื่นๆ 1 กิโลไบต์ (kilobyte หรือ KB) = 1,024 ไบต์ 1 เมกะไบต์ (megabyte หรือ MB) = 1,024 กิโลไบต์ 1 กิกะไบต์ (gigabyte หรือ GB) = 1,024 เมกะไบต์ 1 เทอราไบต์ (terrabyte หรือ TB) = 1,024 กิกะไบต์ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 ROM ROM (Read Only Memory) ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลไว้อย่างถาวร ผู้ใช้งานสามารถเรียกมาใช้หรืออ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือลบทิ้งได้ รอมจึงเป็นที่เก็บแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile storage) แม้จะไม่มีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม โดยทั่วไปจะใช้เก็บโปรแกรมหรือคำสั่งที่ต้องการเรียกใช้งานได้ทันที เช่น โปรแกรม ROM BIOS และโปรแกรมเกมส์ต่างๆ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 ROM BIOS ROM BIOS or Autostart ROM บรรจุโปรแกรมใช้เริ่มต้นทำงานเมื่อเปิดเครื่อง (ROM Boot) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 Mainboard แผงวงจรหลัก (Mainboard) เป็นแผงที่รวมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ที่ต้องทำงานร่วมกัน ประกอบด้วย ช่องสำหรับใส่ซีพียู ช่องสำหรับใส่หน่วยความจำหลัก ช่องสำหรับใส่แผ่นวงจรเพิ่มเติม เรียกว่า สล็อต (Slot) และ ชิปเซ็ต (Chipset) ที่ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Mainboard 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

13 July 2002 Bus บัส (Bus) เป็นวงจรอิเล็คทรอนิคส์ ที่ใช้เป็นทางเดินหรือเส้นทางของข้อมูล (Data bus) คำสั่ง (Control bus) และแอดเดรส (Address bus) Internal Bus Expansion or External bus 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Bus 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

13 July 2002 Port พอร์ต (Port) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อบัสกับหัวต่อ (Connector) ของอุปรณ์ที่อยู่ภายนอกแผงวงจรหลัก USB Port Serial Port Parallel Port Network Port 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Port USB Port Serial Port 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002 Port USB Port Serial Port 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 Controller Cards Controller Cards เป็นแผงวงจรที่ใช้ทำงานเพิ่มเติมพิเศษ หรือควบคุมอุปกรณ์บางอย่าง ใช้เสียบใส่ลงใน Slot ของแผงวงจรหลัก ด้านหลังแผ่นวงจรจะมีช่องสำหรับเสียบต่อไปยัง อุปกรณ์ที่ใช้งาน ในแผงวงจรหลักบางรุ่นจะมีอุปกรณ์ชนิดนี้ให้แล้ว เรียกว่า Card Onboard 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Controller Cards Sound card Display controller card 13 October 2007 13 July 2002 Controller Cards Sound card Display controller card 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Network Cards Lan card Modem 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002 Network Cards Lan card Modem 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Power Supply 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

13 July 2002 Input devices อุปกรณ์รับข้อมูล ทำหน้าที่รับข้อมูลและคำสั่งจากผู้ใช้นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำหลัก รูปแบบของสัญญาณข้อมูลแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคำสั่งที่เป็นตัวอักษร, ภาพ, เสียง จะถูกเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์รู้จัก และสามารถนำข้อมูลนั้นไปประมวลผลได้ อุปกรณ์มาตรฐาน Keyboard, Mouse อุปกรณ์เสริม Trackball, joystick Scanner, Barcode reader, OMR (Optical Marksense Reader) Microphone, Digital camera, Video camera 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Keyboard แบบ Wireless แบบ PS/2 และแบบ USB 13 October 2007 13 July 2002 Keyboard แบบ Wireless แบบ PS/2 และแบบ USB 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Mouse แบบ USB แบบ PS/2 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002 Mouse แบบ USB แบบ PS/2 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Scanner 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

13 July 2002 Multimedia Devices Microphone, Digital camera, Video camera อุปกรณ์รับข้อมูลทำหน้าที่รับข้อมูลภาพ, เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 July 2002 Output devices ทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลแล้ว ไปแสดงผลให้ผู้ใช้ ในรูปแบบตัวอักษร ภาพ หรือ เสียง อุปกรณ์แสดงผล ต่างๆ Monitor Printer Plotter Speaker 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Monitor CRT (Cathode-ray tube) LCD (Liquid crystal display) 13 July 2002 Monitor CRT (Cathode-ray tube) LCD (Liquid crystal display) 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Printer Dot matrix 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002 Printer Dot matrix 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Printer Laser Printer 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002 Printer Laser Printer 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Printer Ink jet 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

Plotter 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

Secondary Storage Devices 13 July 2002 Secondary Storage Devices ความจำรอง (Secondary storage devices) เป็นอุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูล โปรแกรม ผลลัพธ์ โดยจัดเก็บอยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูล เพื่อนำไว้ใช้งานในครั้งถัดไป แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยง Diskdrive and Magnetic disk Floppy disk Harddisk Tape unit and Magnetic tape CD and DVD CD Rom and CD Write DVD ROM and DVD Write CD Combo 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Diskdrive 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

Harddisk 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

Harddisk 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

CD and DVD 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

Removable Harddisk and Flash Drive 13 July 2002 Removable Harddisk and Flash Drive 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

Magnetic Tape 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

หน่วยวัดความจุของ Storage Devices 13 July 2002 หน่วยวัดความจุของ Storage Devices Byte เบ็นหน่วยวัดความจุของ Storage devices 1 Kilobyte (KB) = 1024 Bytes 1 Megabyte (MB) = 1024 KB 1 Gigabyte (GB) = 1024 MB 1 Terrabyte (TB) = 1024 GB 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

รหัสแทนข้อมูล BIT (Binary DigiT) BIT คือ 0 หรือ 1 1 Byte = 8 BIT 13 July 2002 รหัสแทนข้อมูล BIT (Binary DigiT) BIT คือ 0 หรือ 1 1 Byte = 8 BIT 0100 0001 คือ 1 Byte แทนอักษร A 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

รหัสแทนข้อมูล 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

รหัสแทนข้อมูล Here are some words, 13 October 2007 13 July 2002 รหัสแทนข้อมูล Here are some words, 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th Email:wichai@buu.ac.th

13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002

สวัสดี 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th 13 July 2002