เทคโนโลยีสารพัดประโยชน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
Advertisements

 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบ Design.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
Communication Software
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
รายชื่อกลุ่ม 1.นางสาว ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค (พลอย) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์ 2.นางสาว พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ (มุก) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์
Material requirements planning (MRP) systems
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
รหัสบ่งชี้โดยใช้ความถี่ของคลื่นวิทยุ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ที่ปรึกษาโครงการ 1. นายประวัติวิทย์ สวัสดิ์ดวง ผส.ชป.13 ประธานที่ปรึกษา 2. นายไพศาล พงศ์นรภัทร ผชช.ชป.13 ที่ปรึกษา 3. นายไพรัตน์ ทับประเสริฐ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีสารพัดประโยชน์ 12 พฤศจิกายน 2561 อาจารย์ลัดดาวรรณ มีอนันต์ 29 มีนาคม 2549

RFID ความแตกต่างของ RFID กับ Barcode RFID คืออะไร ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก คลื่นความถี่ในการใช้งาน ตัวอย่างการใช้งาน RFID 12 พฤศจิกายน 2561

ความแตกต่างของ RFID กับ Barcode การจัดเก็บข้อมูลลงบน tags (แผ่นป้าย) การอ่านและการเขียนทับ อ่านได้ในระยะไกลกว่าเดิม การให้ข้อมูลสินค้าได้มากกว่า 12 พฤศจิกายน 2561

RFID RFID คืออะไร RFID: Radio Frequency Identification เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อนำไปใช้งานแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) จุดเด่นของ RFID อยู่ที่การอ่านข้อมูลจากแท็ก (Tag) ได้หลาย ๆ แท็ก แบบไร้สัมผัส และสามารถอ่านค่าได้แม้ในสภาพที่ทัศนวิสัยไม่ดี ทนต่อ ความเปียกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก (วัชรากร หนูทอง อนุกูล น้อยไม้ และปรินันท์ วรรณสว่าง) 12 พฤศจิกายน 2561

RFID RFID คืออะไร (ต่อ) RFID: Radio Frequency Identification คือ ระบบเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่เพิ่มความสามารถในการคำนวณ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และส่งกำลังโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แทนการสัมผัสทางกายภาพ เป็นการเอาคลื่นวิทยุมาเป็นคลื่นพาหะ เพื่อใช้ ในการสื่อสารข้อมูล (พ.ท.ดร. เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ น.ส.ฐิติพร วังไพฑูรย์) 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID ในระบบ RFID มีองค์ประกอบหลัก ๆ อยู่ 2 ส่วน คือ 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) 2. เครื่องสำหรับอ่าน/ เขียนข้อมูลภายในแท็ก (Interrogator/ Reader) 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) โครงสร้างภายในของแท็กจะประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ ขดลวดขนาดเล็กซึ่งทำหน้าที่เป็นสายอากาศ (Antenna) สำหรับรับส่ง สัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ และสร้างพลังงาน ป้อนให้ส่วนของไมโครชิป (Microchip) ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลของวัตถุ เช่น รหัสสินค้า 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) (ต่อ) แบ่งแท็กออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ 1.1 Passive RFID Tags 1.2 Active RFID Tags 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) (ต่อ) 1.1 Passive RFID Tags 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) (ต่อ) 1.2 Active RFID Tags 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID 2. เครื่องอ่าน (Reader) ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อเพื่อเขียน หรืออ่านข้อมูลลงในแท็ก ด้วยสัญญาณความถี่วิทยุ ภายในเครื่องอ่านจะประกอบด้วย เสาอากาศ ที่ทำจากขดลวดทองแดงเพื่อใช้รับสัญญาณภาครับ และภาคส่งสัญญาณ วิทยุ และวงจรควบคุมการอ่าน-เขียนข้อมูล 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ส่วนประกอบของ RFID 2. เครื่องอ่าน (Reader) (ต่อ) โดยทั่วไปเครื่องอ่านจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ดังนี้ ภาครับ และส่งสัญญาณวิทยุ ภาคสร้างสัญญาณพาหะ ขดลวดที่ทำหน้าที่เป็นสายอากาศ วงจรจูนสัญญาณ หน่วยประมวลผลข้อมูล และภาคติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ภาพรวมของระบบ RFID 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก 1. ตัวเครื่องอ่านจะทำการส่งสัญญาณวิทยุอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นจังหวะ และรอคอยสัญญาณตอบจากตัวแท็ก 2. เมื่อแท็กได้รับสัญญาณคลื่นวิทยุที่ส่งมาจากเครื่องอ่านในระดับที่ เพียงพอ ก็จะทำการเหนี่ยวนำเพื่อสร้างพลังงานป้อนให้แท็กทำงาน โดย แท็กจะสร้างสัญญาณนาฬิกาเพื่อกระตุ้นให้วงจรภาคดิจิตัลในแท็กทำงาน 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) 3. วงจรภาคดิจิทัลจะไปอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำภายใน และ เข้ารหัสข้อมูลแล้วส่งไปยังภาคแอนะล็อกที่ทำหน้าที่มอดูเลตข้อมูล 4. ข้อมูลที่ถูกมอดูเลตจะถูกส่งไปยังขดลวดที่ทำหน้าที่เป็นสายอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องอ่าน 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) 5. เครื่องอ่านจะสามารถตรวจจับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของ แอมปลิจูด และใช้พีก ดีเทกเตอร์ ในการแปลงสัญญาณข้อมูลที่มอดูเลตแล้ว จากแท็ก 6. เครื่องอ่านจะถอดรหัสข้อมูล และส่งไปยังคอมพิวเตอร์ผ่านทาง พอร์ตอนุกรมต่อไป 12 พฤศจิกายน 2561

RFID คลื่นความถี่ในการใช้งาน ISM (Industrial Scientific Medical) ซึ่งเป็นย่านความถี่ที่กำหนดการใช้งาน ในเชิงอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ และการแพทย์ สามารถใช้งานได้โดยไม่ ตรงกับย่านความถี่ที่ใช้งานในการสื่อสารทั่วไป 12 พฤศจิกายน 2561

RFID คลื่นความถี่ในการใช้งาน (ต่อ) ย่านความถี่ คุณลักษณะ การใช้งาน 1. ย่านความถี่ต่ำ 100-500 KHz (Low Frequency: LF) ความถี่มาตรฐานที่ใช้งานทั่วไปคือ 125 KHz - ระยะการรับส่งข้อมูลใกล้ - ต้นทุนไม่สูง - ความเร็วในการอ่านข้อมูลต่ำ - ความถี่ในย่านนี้เป็นที่แพร่หลายทั่วโลก - Access Control - ปศุสัตว์ - ระบบคงคลัง - รถยนต์ 2. ย่านความถี่กลาง 10-15 MHz (High Frequency: HF) ความถี่มาตรฐานที่ใช้งานทั่วไปคือ 13.56 MHz - ระยะการรับส่งข้อมูลปานกลาง - ราคามีแนวโน้มถูกลงในอนาคต - ความเร็วในการอ่านข้อมูลปานกลาง - สมาร์ทการ์ด 3. ย่านความถี่สูง 850-950 MHz 2.4-5.8 GHz (Ultra High Frequency: UHF) ความถี่มาตรฐานที่ใช้งานทั่วไปคือ 2.45 GHz - ระยะการรับส่งข้อมูลไกล (10 เมตร) - ความเร็วในการอ่านข้อมูลสูง - ราคาแพง - รถไฟ - ระบบเก็บค่าผ่านทาง 4. ย่านความถี่ไมโครเวฟ (Microwave Frequency) 2.45/5.8 GHz - ระยะการรับส่งข้อมูลไกลกว่า 10 เมตร - เพื่อใช้ในงานที่ต้องการระยะอ่านที่ไกลกว่า 10 เมตร 12 พฤศจิกายน 2561

RFID ตัวอย่างการใช้งาน RFID ทดแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) Access Control/ Personal Identification ห่วงโซ่อุปทาน และระบบลอจิสติกส์ ระบบ Animal Tracking ระบบ e-Ticket ระบบ e-Library 12 พฤศจิกายน 2561

ตัวอย่างการใช้งาน RFID ทดแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) 12 พฤศจิกายน 2561

ตัวอย่างการใช้งาน RFID Access Control/ Personal Identification 12 พฤศจิกายน 2561

ตัวอย่างการใช้งาน RFID ห่วงโซ่อุปทาน และระบบลอจิสติกส์ 12 พฤศจิกายน 2561

ตัวอย่างการใช้งาน RFID ระบบ Animal Tracking 12 พฤศจิกายน 2561

ตัวอย่างการใช้งาน RFID ระบบ e-Ticket 12 พฤศจิกายน 2561

ตัวอย่างการใช้งาน RFID ระบบ e-Library 12 พฤศจิกายน 2561

เอกสารอ้างอิง [1] Klaus Finkenzeller, “RFID Handbook : Fundamentals and Applications in Contactless Smart Cards and Identification” , John Wiley & Sons, 2003. [2] Microchip. 1998. “microID 125 kHz RFID System Design Guide”, [Online]. Available: http://ww1.microchip.com/downloands/en/DeviceDoc/51115e.pdf [3] สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, เอกสารประกอบ งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2547 [Online]. Available : http://www.nstda.or.th/sciencetecs/documents/falekit-th.pdf 12 พฤศจิกายน 2561