เทคโนโลยีสารพัดประโยชน์ 12 พฤศจิกายน 2561 อาจารย์ลัดดาวรรณ มีอนันต์ 29 มีนาคม 2549
RFID ความแตกต่างของ RFID กับ Barcode RFID คืออะไร ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก คลื่นความถี่ในการใช้งาน ตัวอย่างการใช้งาน RFID 12 พฤศจิกายน 2561
ความแตกต่างของ RFID กับ Barcode การจัดเก็บข้อมูลลงบน tags (แผ่นป้าย) การอ่านและการเขียนทับ อ่านได้ในระยะไกลกว่าเดิม การให้ข้อมูลสินค้าได้มากกว่า 12 พฤศจิกายน 2561
RFID RFID คืออะไร RFID: Radio Frequency Identification เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อนำไปใช้งานแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) จุดเด่นของ RFID อยู่ที่การอ่านข้อมูลจากแท็ก (Tag) ได้หลาย ๆ แท็ก แบบไร้สัมผัส และสามารถอ่านค่าได้แม้ในสภาพที่ทัศนวิสัยไม่ดี ทนต่อ ความเปียกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก (วัชรากร หนูทอง อนุกูล น้อยไม้ และปรินันท์ วรรณสว่าง) 12 พฤศจิกายน 2561
RFID RFID คืออะไร (ต่อ) RFID: Radio Frequency Identification คือ ระบบเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่เพิ่มความสามารถในการคำนวณ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และส่งกำลังโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แทนการสัมผัสทางกายภาพ เป็นการเอาคลื่นวิทยุมาเป็นคลื่นพาหะ เพื่อใช้ ในการสื่อสารข้อมูล (พ.ท.ดร. เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ น.ส.ฐิติพร วังไพฑูรย์) 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID ในระบบ RFID มีองค์ประกอบหลัก ๆ อยู่ 2 ส่วน คือ 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) 2. เครื่องสำหรับอ่าน/ เขียนข้อมูลภายในแท็ก (Interrogator/ Reader) 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) โครงสร้างภายในของแท็กจะประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ ขดลวดขนาดเล็กซึ่งทำหน้าที่เป็นสายอากาศ (Antenna) สำหรับรับส่ง สัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ และสร้างพลังงาน ป้อนให้ส่วนของไมโครชิป (Microchip) ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลของวัตถุ เช่น รหัสสินค้า 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) (ต่อ) แบ่งแท็กออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ 1.1 Passive RFID Tags 1.2 Active RFID Tags 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) (ต่อ) 1.1 Passive RFID Tags 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID 1. ทรานสปอนเดอร์ หรือแท็ก (Transponder/ Tag) (ต่อ) 1.2 Active RFID Tags 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID 2. เครื่องอ่าน (Reader) ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อเพื่อเขียน หรืออ่านข้อมูลลงในแท็ก ด้วยสัญญาณความถี่วิทยุ ภายในเครื่องอ่านจะประกอบด้วย เสาอากาศ ที่ทำจากขดลวดทองแดงเพื่อใช้รับสัญญาณภาครับ และภาคส่งสัญญาณ วิทยุ และวงจรควบคุมการอ่าน-เขียนข้อมูล 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ส่วนประกอบของ RFID 2. เครื่องอ่าน (Reader) (ต่อ) โดยทั่วไปเครื่องอ่านจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ดังนี้ ภาครับ และส่งสัญญาณวิทยุ ภาคสร้างสัญญาณพาหะ ขดลวดที่ทำหน้าที่เป็นสายอากาศ วงจรจูนสัญญาณ หน่วยประมวลผลข้อมูล และภาคติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ภาพรวมของระบบ RFID 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก 1. ตัวเครื่องอ่านจะทำการส่งสัญญาณวิทยุอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นจังหวะ และรอคอยสัญญาณตอบจากตัวแท็ก 2. เมื่อแท็กได้รับสัญญาณคลื่นวิทยุที่ส่งมาจากเครื่องอ่านในระดับที่ เพียงพอ ก็จะทำการเหนี่ยวนำเพื่อสร้างพลังงานป้อนให้แท็กทำงาน โดย แท็กจะสร้างสัญญาณนาฬิกาเพื่อกระตุ้นให้วงจรภาคดิจิตัลในแท็กทำงาน 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) 3. วงจรภาคดิจิทัลจะไปอ่านข้อมูลจากหน่วยความจำภายใน และ เข้ารหัสข้อมูลแล้วส่งไปยังภาคแอนะล็อกที่ทำหน้าที่มอดูเลตข้อมูล 4. ข้อมูลที่ถูกมอดูเลตจะถูกส่งไปยังขดลวดที่ทำหน้าที่เป็นสายอากาศ เพื่อส่งไปยังเครื่องอ่าน 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) ขั้นตอนการทำงานระหว่างเครื่องอ่านกับแท็ก (ต่อ) 5. เครื่องอ่านจะสามารถตรวจจับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของ แอมปลิจูด และใช้พีก ดีเทกเตอร์ ในการแปลงสัญญาณข้อมูลที่มอดูเลตแล้ว จากแท็ก 6. เครื่องอ่านจะถอดรหัสข้อมูล และส่งไปยังคอมพิวเตอร์ผ่านทาง พอร์ตอนุกรมต่อไป 12 พฤศจิกายน 2561
RFID คลื่นความถี่ในการใช้งาน ISM (Industrial Scientific Medical) ซึ่งเป็นย่านความถี่ที่กำหนดการใช้งาน ในเชิงอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ และการแพทย์ สามารถใช้งานได้โดยไม่ ตรงกับย่านความถี่ที่ใช้งานในการสื่อสารทั่วไป 12 พฤศจิกายน 2561
RFID คลื่นความถี่ในการใช้งาน (ต่อ) ย่านความถี่ คุณลักษณะ การใช้งาน 1. ย่านความถี่ต่ำ 100-500 KHz (Low Frequency: LF) ความถี่มาตรฐานที่ใช้งานทั่วไปคือ 125 KHz - ระยะการรับส่งข้อมูลใกล้ - ต้นทุนไม่สูง - ความเร็วในการอ่านข้อมูลต่ำ - ความถี่ในย่านนี้เป็นที่แพร่หลายทั่วโลก - Access Control - ปศุสัตว์ - ระบบคงคลัง - รถยนต์ 2. ย่านความถี่กลาง 10-15 MHz (High Frequency: HF) ความถี่มาตรฐานที่ใช้งานทั่วไปคือ 13.56 MHz - ระยะการรับส่งข้อมูลปานกลาง - ราคามีแนวโน้มถูกลงในอนาคต - ความเร็วในการอ่านข้อมูลปานกลาง - สมาร์ทการ์ด 3. ย่านความถี่สูง 850-950 MHz 2.4-5.8 GHz (Ultra High Frequency: UHF) ความถี่มาตรฐานที่ใช้งานทั่วไปคือ 2.45 GHz - ระยะการรับส่งข้อมูลไกล (10 เมตร) - ความเร็วในการอ่านข้อมูลสูง - ราคาแพง - รถไฟ - ระบบเก็บค่าผ่านทาง 4. ย่านความถี่ไมโครเวฟ (Microwave Frequency) 2.45/5.8 GHz - ระยะการรับส่งข้อมูลไกลกว่า 10 เมตร - เพื่อใช้ในงานที่ต้องการระยะอ่านที่ไกลกว่า 10 เมตร 12 พฤศจิกายน 2561
RFID ตัวอย่างการใช้งาน RFID ทดแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) Access Control/ Personal Identification ห่วงโซ่อุปทาน และระบบลอจิสติกส์ ระบบ Animal Tracking ระบบ e-Ticket ระบบ e-Library 12 พฤศจิกายน 2561
ตัวอย่างการใช้งาน RFID ทดแทนระบบบาร์โค้ด (Barcode) 12 พฤศจิกายน 2561
ตัวอย่างการใช้งาน RFID Access Control/ Personal Identification 12 พฤศจิกายน 2561
ตัวอย่างการใช้งาน RFID ห่วงโซ่อุปทาน และระบบลอจิสติกส์ 12 พฤศจิกายน 2561
ตัวอย่างการใช้งาน RFID ระบบ Animal Tracking 12 พฤศจิกายน 2561
ตัวอย่างการใช้งาน RFID ระบบ e-Ticket 12 พฤศจิกายน 2561
ตัวอย่างการใช้งาน RFID ระบบ e-Library 12 พฤศจิกายน 2561
เอกสารอ้างอิง [1] Klaus Finkenzeller, “RFID Handbook : Fundamentals and Applications in Contactless Smart Cards and Identification” , John Wiley & Sons, 2003. [2] Microchip. 1998. “microID 125 kHz RFID System Design Guide”, [Online]. Available: http://ww1.microchip.com/downloands/en/DeviceDoc/51115e.pdf [3] สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, เอกสารประกอบ งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2547 [Online]. Available : http://www.nstda.or.th/sciencetecs/documents/falekit-th.pdf 12 พฤศจิกายน 2561