บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Real Estate Economics Prepared by Dichapong P. Thammasat University.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
Rimping Five-forces Analysis
Demand in Health Sector
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
Supply and Demand >> chapter: 3 Krugman/Wells Economics ©2009  Worth Publishers.
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
REVENUE MANAGEMENT Presented by LM 10 ONLINE LOTTO.
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
A.Petcharee Sirikijjakajorn
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ทบทวน สนามแม่เหล็ก.
บทที่ 2 อุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยว
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 ความสำคัญและ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
กฎหมายอาญา(Crime Law)
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
สิ่งที่ควรพิจารณาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
กระทรวงศึกษาธิการ.
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
การบริหารงานเพื่อลดความเสี่ยง ด้านจริยธรรมและกฎหมาย
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ J.chontanawat@gmail.com

ความหมายและกฎของอุปสงค์ จำนวนสินค้าหรือบริการชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้าและบริการนั้น หรือ ณ ระดับรายได้ต่างๆของผู้บริโภค หรือ ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้อง

อุปสงค์ประกอบด้วย 2 เงื่อนไข ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อ ( Ability to Pay ) ผู้บริโภคมีความเต็มใจที่จะซื้อ ( Willing to Pay ) ชนิดของอุปสงค์มี 3 ชนิด อุปสงค์ต่อราคา ( Price Demand ) อุปสงค์ต่อรายได้ ( Income Demand ) อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นหรืออุปสงค์ไขว้ ( Cross Demand )

กฎของอุปสงค์ (Law of Demand ) ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคประสงค์ที่จะซื้อย่อมแปรผันผกผันกับระดับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ ฟังก์ชันของอุปสงค์ (Demand Function) Qx = f(Px) สมการอุปสงค์ Qx = a - bPx

สาเหตุที่ปริมาณซื้อแปรผกผันกับราคาสินค้า ผลทางรายได้ ( Income Effect ) ผลทางการทดแทน ( Substitution Effect ) A B 10 5 20 50 D ราคา ปริมาณ

ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) ราคาของสินค้า (Price) ระดับรายได้ของผู้บริโภค (Income) รสนิยมของผู้บริโภค (Tastes) ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Relative Price) ขนาดของประชากร (Size of Population) การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Change in demand quantity) คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเนื่องจากราคาสินค้าเปลี่ยน โดยที่ปัจจัยอื่นคงที่ A B 10 5 100 200 D ราคา ปริมาณ

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์และระดับอุปสงค์ (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Shift in Demand Curve) คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์ในขณะที่ราคาสินค้าและบริการคงที่ เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่างๆที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ (ที่ไม่ใช่ราคาของสินค้านั้นๆ) 20 50 A B 10 D0 ราคา ปริมาณ D1

อุปสงค์ของบุคคลและอุปสงค์ของตลาด อุปสงค์ของตลาดหาได้จากการนำอุปสงค์ส่วนบุคคลในการซื้อสินค้าแต่ละชนิด ณ ระดับราคาเดียวกันมารวมกัน D2 P Q 10 Dm D1 q1 q2 Q=q1+q2

อุปสงค์ต่อราคา INDIVIDUAL DEMAND : ส่วนบุคคล FIRM DEMAND : ผู้ผลิต INDUSTRY DEMAND / MARKET DEMAND : ของอุตสาหกรรม / ตลาด AGGREGRATE DEMAND : ระบบเศรษฐกิจ / ประเทศ EXTERNAL DEMAND : ภายนอกประเทศ

ความหมายของอุปทาน (Definition of Supply) ปริมาณของสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายต้องการจะขายสินค้า ณ ระดับราคาหนึ่งๆ ย่อมแปรผันโดยตรงกับราคาสินค้านั้น ฟังก์ชันของอุปทาน (Supply Function) Qx = f(Px) สมการอุปทาน Qx = a+bPx

ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน (Supply Determinants) ราคาสินค้านั้น เทคโนโลยีในการผลิต ราคาปัจจัยการผลิต ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง จำนวนผู้ขายในตลาด

เส้นอุปทาน (Supply Curve) A B 20 10 100 200 ราคา ปริมาณ S

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทานและระดับอุปทาน: การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน(Change in the Quantity Supplied) การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงราคา เป็นการเคลื่อนย้ายจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งบนเส้นอุปทาน ราคา 100 200 A B 20 10 ปริมาณ S

การเปลี่ยนแปลงของระดับอุปทาน (Shift in Supply Curve) การที่ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายนำออกขายในตลาด ณ ระดับราคาเดิมได้เพิ่มขึ้นหรือลดลง เป็นการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปทานเปลี่ยนโดยที่ราคาสินค้าคงที่ ปริมาณ ราคา P q1 S1 S0 S2 q0 q2

อุปทานส่วนบุคคลและอุปทานของตลาด อุปทานส่วนบุคคล : ปริมาณสินค้าที่ผู้ขายแต่ละคนนำออกขายในตลาด ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง อุปทานของตลาด : ปริมาณหรือจำนวนทั้งหมดของสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ขายทุกคนจะนำออกเสนอขายในตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ D2 P Q 10 Dm D1 P1 q1 q2 Q=q1+q2 S1 S2 S=S1+S2

การกำหนดราคาและดุลยภาพของตลาด ราคาสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งจะถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาดสินค้าและบริการชนิดนั้น ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพจะเกิดพร้อมกันตรงระดับซึ่งปริมาณซื้อเท่ากับปริมาณขายพอดี เราเรียกสภาวะดังกล่าวว่า “ดุลยภาพตลาด” Pe Q S P E D Qe

การปรับตัวโดยอัตโนมัติของระบบราคา กรณีที่อุปสงค์ของสินค้าและบริการในตลาด ไม่เท่ากับอุปทานของสินค้าและบริการ กรณีที่ปัจจัยอื่นที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง กลไกราคาจะเป็นตัวปรับให้กลับสู่ดุลยภาพ Pe Q S P E D Qe P1 P2 Qc Qa Qb Qf A B F C Excess Supply Excess Demand

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลง แบ่งได้ 3 กรณี - กรณีปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์เปลี่ยน ปัจจัยที่กำหนดอุปทานคงที่ - กรณีปัจจัยที่กำหนดอุปทานเปลี่ยน ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์คงที่ - กรณีปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนทั้งคู่

กรณีปัจจัยกำหนดอุปสงค์เปลี่ยน เช่น รายได้ผู้บริโภคเพิ่มขึ้น , ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลง P1 Q S P E1 D1 Q1 E2 D2 Q2 P2

กรณีปัจจัยกำหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยน P1 Q S1 P E1 D1 Q2 E2 D2 Q1 P2 S2

กรณีปัจจัยกำหนดอุปทานเปลี่ยน เช่น ราคาปัจจัยการผลิต , เทคโนโลยีการผลิตเปลี่ยนแปลง P1 Q S2 P E1 Q1 E2 D Q2 P2