งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

2 1.1 ความหมายของประชากรในทางชีววิทยา
ประชากร (Population) 1.1 ความหมายของประชากรในทางชีววิทยา ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่เป็นชนิดเดียวกัน อาศัยและแพร่พันธุ์อยู่ในแหล่งที่อยู่เดียวกันในช่วงเวลาหนึ่ง ประชากร = สิ่งมีชีวิตเดียวกัน + แหล่งที่อยู่ + เวลา (Population) (single species) (Habitat) (Time)

3 ตัวอย่างเช่น ค้างคาวในถ้ำจอมพล จ. ราชบุรี เมื่อปีที่แล้ว ลูกอ๊อดและกบ กำลังวายน้ำมากมายในสระ ตั๊กแตนปาทังก้า ในไร่ข้าวโพด เมื่อวานนี้ คำที่ไม่ได้ระบุเป็นประชากร เช่น แพลงก์ตอน แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ ส่วนใดๆ ของพืชหรือสัตว์ เช่น ไข่ ดอก ผล เมล็ด ฯลฯ

4 ความหนาแน่นของประชากร (Population density)
1.2 การศึกษาประชากร จะศึกษาเกี่ยวกับ ความหนาแน่นของประชากร (Population density) รูปแบบการกระจายของประชากร (Distribution) การเติบโตของประชากร (Population growth form) และขนาดประชากร (Population size) การรอดชีวิตของประชากร (Survivorship curve) โครงสร้างอายุ (Age structure)

5 ความหนาแน่นของประชากร
(Population density) 1. ความหนาแน่นของประชากร ความหนาแน่นของประชากร หมายถึง จำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตร ความหนาแน่นของประชากร = จำนวนประชากร พื้นที่หรือปริมาตร หน่วย จำนวนต้นหรือตัว/m2 หรือ m3

6 2. การหาความหนาแน่นของประชากร
นักนิเวศวิทยาสามารถประเมินหาความหนาแน่นของประชากรได้ 2 วิธี คือ 2.1 การหาความหนาแน่นแบบหยาบ (Crude density) เป็นการหาจำนวนประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมดที่ศึกษา (Total space) 2.2 การหาความหนาแน่นเชิงนิเวศ (Ecological density) เป็นการหาจำนวนหรือมวลของประชากรต่อหน่วยพื้นที่ที่ประชากรนั้นอาศัยอยู่จริง (Habital space)

7 ในการหาความหนาแน่นของประชากรที่แท้จริง (true density) โดยการนับจำนวนสิ่งมีชีวิตทั้งหมด (Total count) ต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตรนั้นทำได้ยาก เนื่องจากสิ่งมีชีวิตอาจมีการเคลื่อนย้าย ดังนั้นจึงทำการหา ความหนาแน่นของประชากรโดยการสุ่มตัวอย่าง (Sampling) ดังนี้

8 1. การสุ่มตัวอย่างแบบวางแปลง
(Quadrant sampling method) การสุ่มตัวอย่างแบบวางแปลงเป็นวิธีการวางแปลงสุ่มตัวอย่างสิ่งมีชีวิตบางส่วนจากทั้งหมดในบริเวณที่ต้องการศึกษา แล้วนำมาคำนวณหาความหนาแน่น วิธีนี้เหมาะกับสิ่งมีชีวิตที่อยู่กับที่ เช่น พืช เพรียงหิน ปะการัง

9

10


ดาวน์โหลด ppt ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google