งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงานเพื่อลดความเสี่ยง ด้านจริยธรรมและกฎหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงานเพื่อลดความเสี่ยง ด้านจริยธรรมและกฎหมาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงานเพื่อลดความเสี่ยง ด้านจริยธรรมและกฎหมาย
ประภัสสร พงศ์พันธุ์พิศาล

2 ประวัติวิทยากร วุฒิการศึกษา -อนุปริญญาการพยาบาล/ ประกาศนียบัตรการผดุงครรภ์ -นิติศาสตร์บัณฑิต/เนติบัณฑิตไทย -ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงาน ภาครัฐและกฎหมายมหาชน สภาบันพระปกเกล้า ประสบการณ์ -อาจารย์พิเศษชุดวิชากฎหมายกับการประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ -ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง - กรรมการสภาการพยาบาล

3 คลิปวีดีโอ งานวิสัญญี

4 คลิปวีดีโอ พยาบาลคนหนึ่ง

5 ถูกดำเนินคดีจากงานที่ปฏิบัติเป็นประจำ
ถูกจับกุมโดย สสจ. ขณะเจาะเลือด/ฉีดวัคซีนตามแผนการตรวจสุขภาพพนักงาน

6

7

8

9 ปัญหาการปฎิบัติงานของพยาบาล
ถูกมอบหมายภาระงานเกินกรอบของกฎหมาย - ทำงานแทนแพทย์/รับนโยบายของกระทรวง - ชั่วโมงการทำงานต่อเนื่องเกินสมควร - ถูกแต่งตั้งให้เป็นกรรมการเกี่ยวกับการพัสดุ กรรมการจัดซื้อ/ตรวจรับพัสดุ/ ตรวจนับพัสดุ ขาดความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน - ตำแหน่งบริหารระดับสูงมีน้อย - การไหลออกจากวิชาชีพสูง - เงินค่าตอบแทนไม่คุ้นกับภาระงาน การใช้สื่อ ไอที ที่ไม่เหมาะสม

10 ภาระงานเกินกรอบ โครงการ PPP/โครงการ PCC
มอบหมายให้พยาบาลทำหัตถการแทนแพทย์ เป็นผู้ช่วยทำผ่าตัด ตรวจรักษาพยาบาลแทนแพทย์ ชั่วโมงการทำงานติดต่อกันเกิน 24 ชั่วโมง หลับ เหนื่อยล้า/หงุดหงิด

11 โครงการ PPP การจัดบริการฟองไต ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง
การจัดบริการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง - CT scan - MRI - Cardiac cath Lap

12 ปัญหาของ PPP การรับผิดชอบต่อผู้ป่วยกรณีเกิดความเสียหายในการใช้บริการ PPP การมอบหมายให้พยาบาลเข้าไปปฎิบัติหน้าที่ในหน่วย PPP มาตรฐานของงาน ถูกมอบหมายงานเกินกรอบเช่นการฉีดสารทึบแสง เป็นกรรมการตรวจการจ้างทั้งที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับงานหน่วย PPP

13 การแก้ไขปัญหา - กำหนดแนวทางปฏิบัติ ตรวจดูเงื่อนไขของสัญญา - ปฎิเสธ หากเห็นว่า ไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้องตามหลักกฎหมายอันอาจก็ให้เกิด ความเสียหายทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ - ควรใช้กระบวนการบริหารความเสี่ยงเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหา ให้ความสำคัญกับการหารือทีมงาน แพทย์ เภสัชกร ฯลฯ เพื่อทำกรอบการปฏิบัติ และติดตามประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให้มีความปลอดภัยทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ

14 ถูกแต่งตั้งให้เป็นกรรมการเกี่ยวกับพัสดุ
ปฎิเสธ ได้หรือไม่ ได้ถ้ามีเหตุอันควร - ผู้ออกคำสั่งไม่มีอำนาจ - ไม่สามารถปฏิบัติ หน้าที่ได้ เนื่องจากอยู่ระหว่างการลาป่วย ลาศึกษาต่อ ลาพักร้อน กรณีไม่มีความรู้ หรือไม่มีผู้เชี่ยวชาญในคณะกรรมการ ให้เสนอขอตั้งผู้เชี่ยวชาญเพิ่มเติม การทำหน้าที่กรรมการพัสดุ คู่มือ พรบ. การพัสดุ พ.ศ.2560 ระเบียบสำนักนายกฯว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม กรรมการจัดซื้อ ต้องอ่าน TOR กรรมการตรวจรับพัสดุ ต้องอ่านสัญญา กรรมการตรวจนับพัสดุ ต้องตรวจนับและเห็นพัสดุจริง

15 ขาดความก้าวในหน้าที่
ร้องเรียนกันเอง ไม่ยอมรับผลการพิจารณาในการเลื่อนตำแหน่ง ไม่มีเวลาทำผลงาน อวช เพื่อประกอบการพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง ฟ้องศาลปกครอง ขาดความผูกพันต่อองศ์กร ขาดความภาคภูมิใจในวิชาชีพ ไม่ต้องการทำงานใน ร.พ สามารถเปิดคลีนิดหรือทำงานอื่นได้หรือไม่

16 พยาบาลเป็นเจ้าของกิจการสถานพยาบาล

17 คลินิดการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของสถานพยาบาล และลักษณะการให้บริการสถานพยาบาล พ.ศ. 2558 คลีนิดการพยาบาลฯ หมายถึงคลินิดที่จัดให้มีการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ดำเนินการโดยผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุครรภ์ชั้นหนึ่ง คลีนิดเฉพาะทาง หมายถึงคลินิดที่จัดให้มีการประกอบวิชาชีพเฉพาะทาง ด้านเวชกรรม หรือทันตกรรม หรือการพยาบาลแลการผดุงครรภ์ ซึ่งดำเนินการโดยผู้ประกอบวิชีพ ที่ได้รับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรจากแพทยสภา หรือทันตแพทย์สภาหรือสภาการพยาบาล

18 คลินิดการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ร่างมาตรฐานประเภทของคลินิกและการให้บริการ ประเภทคลินิก การให้บริการพยาบาลเฉพาะด้าน การให้บริการรักษาโรคเบื้องต้น การให้บริการด้านการผดุงครรภ์ ให้บริการ ไม่ให้บริการ คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ทั่วไป - 2. คลินิกการพยาบาลและการผดุง ครรภ์เฉพาะทาง สาขาการผดุงครรภ์ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต สาขาการพยาบาลเด็ก สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน ผดุงครรภ์ ใหญ่และผู้สูงอายุ จิตเวชและสุขภาพจิต เด็ก เวชปฏิบัติชุมชน

19 พยาบาลประจำห้องปฐมพยาบาล

20 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ เป็นสถานพยาบาลที่จัดให้บริการด้านการรักษาพยาบาลการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาสุขภาพอนามัยและการควบคุมโรงและป้องกันโรค ในลักษณะที่เป็นการจัดสวัสดิการการให้แก่เจ้าหน้าที่ พนักงาน ลูกจ้าง หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมิได้มุ่งหมายที่จะเป้นการประกอบธุรกิจเพื่อหวัวผลกำไรตอบแทน และเป็นการจัดสวัสดิการของ

21 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) (1) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีงบประมาณ (2) องค์การมหาชนตามกฎหมายว่าด้วยองค์การมหาชน (3) สถานศึกษาเอกชน (4) นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานและสวัสดิการสังคม (4) ผู้ให้บริการขนส่งผู้โดยสารในยานพาหนะต่างๆ

22 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) 2.เป็นสถานพยาบาลที่ใช้ยานพาหนะเคลื่อนที่ออกไปให้บริการณ.สถานที่ใดที่หนึ่งชั่วคราว เพื่อช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่เรียกเก็บค่าบริการใดๆ ไม่ว่าจะเป็นองค์กรการกุศลหรือเอกชนหรือของบุคคลใด โดยผู้ให้บริการต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือทันตกรรม

23 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) 3.เป็นสถานพยาบาลเคลื่อนที่ของสถานพยาบาลที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ที่ใช้ยานพาหนะเป็ที่ให้บริการไปยังหน่วยงานที่ร้องขอเพื่อการตรวจสุขภาพ พนักงาน นักศีกษา ตามสัญญาประกันสุขภาพหรือการตรวจสุขภาพประจำปีระหว่างสถานพยาบาลกับหน่วยงานนั้นๆเช่น (1) รถเอ็กซ์เรย์ ต้องได้มาตรฐานและได้รับอนุญาตจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และมีนักรังสีวิทยาเป็นผู้ให้บริการ กรณีมีการชันสูตรร่วมด้วย ต้องมีนักเทคนิคการแพทย์เป็นผู้ให้บริการ

24 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) (2)รถทันตกรรม ต้องมีมาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณะสุขกำหนดและให้บริการโดยผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม (3) รถปฏิบัติติการชันสูตร ต้องมีมาตารฐานตามที่กระทรวงสาธารณะสุขกำหนด และให้บริการโดยนักเทคนิคการแพทย์

25 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) 4.เป็นสถานพยาบาล ณ.ที่พำนักของผู้ป่วย โดยผู้ให้บริการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบโรคศิลปะ

26 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) 5.การได้รับยกเว้น - ไม่ต้องขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล - ไม่ต้องชำระค่าธรรมเนียมรายปี -แต่ต้องแจ้งการประกอบกิจการต่อผู้อนุญาตโดยผู้อนุญาตต้องออกแบบรับแจ้งให้ไว้เป็นหลักฐาน

27 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) 6.การออกหน่วยบริการเคลื่อนที่ ต้องแจ้งวัน เวลา สถานที่และชื่อผุ้ประกอบวิชาชีพพร้อมสำเนาใบอนุญาตผู้ที่จะออกไห้บริการแก่ผุ้รับอนุญาตและผุ้รับอนุญาตให้ความเห็นชอบแล้ว และต้องจัดทำสมุดทะเบียนผู้ป่วย บันทึกการปฎิบัติงานไว้เป็นหลักฐานเพื่อการตรวจสอบด้วย

28 ข้อกฎหมายกับการจัดตั้งห้องปฐมพยาบาล
ประกาศกระทรวงสาธารณะสุขฉบับที่ 4(พ.ศ.2542) เรื่องหลักเกณฑ์การยกเว้นสถานพยาบาลซึ่งไม่อยู่ในบังคับของ พ.ร.บสถานพยาบาล พ.ศ. 2541(ต่อ) 7. การขออนุญาต กรุงเทพมหานคร ยื่น ณ.กองการประกอบโรคศิลปะ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณะสุข จังหวัดอื่นๆ ยื่น ณ.สำนักงานสาธารณะสุขจังหวัดนั้นๆ

29 กรณีศึกษา ถูกจับกุมโดย สสจ.เป็นผู้นำจับขณะเจาะเลือดตามแผนตรวจสุขภาพพนักงาน ทั้งที่มีแพทย์ร่วมปฎิบัติงานณ.สถานที่ตรวจ

30 ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล
พรบ.การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 4 “การพยาบาล” หมายความว่า การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับ การดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล

31 มาตรา 4 (ต่อ) “การประกอบวิชาชีพการพยาบาล”
หมายความว่า การปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน โดยการกระทำต่อไปนี้ การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษา และแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สุขภาพอนามัย การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดการสภาพแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟื้นฟูสภาพ

32 “การประกอบวิชาชีพการพยาบาล”(ต่อ)
3. การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการ ให้ภูมิคุ้มกันโรค 4. การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล ในการประเมินสภาพ การวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติ และการประเมิน

33 พ.ร.บ.เทคนิคการแพทย์ 2547 มาตรา 3
วิชาชีพเทคนิคการแพทย์ หมายถึง วิชาชีพที่กระทำต่อมนุษย์ เพื่อให้ได้สิ่งตัวอย่างทางการแพทย์ และการดำเนินการโดยวิธีการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการตรวจ ทดสอบ วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลการตรวจ เพื่อการวินิจฉัย การติดตามกรรักษา การพยากรณ์โรค และการป้องกันโรค หรือเพื่อการประเมินภาวะสุขภาพ

34 การออกหน่วยตรวจสุขภาพ
ต้องแจ้งกำหนดการดำเนินการต่อผู้อนุญาตล่วงหน้าก่อนวันออกหน่วย ต้องแจ้งชื่อผู้ประกอบวิชาชีพที่จะเป็นผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการต้องตรงตามที่กฎกระทรวงกำหนด ถ้ามีการชันสูตรต้องให้บริการโดยนักเทคนิคการแพทย์ การจัดเก็บตัวอย่างเลือดโดยพยาบาลต้องเพื่อส่งต่อไปยังห้องปฎิบัติการเท่านั้น ไม่เป็นผู้ทำการชันสูตร ถ้ามีการฉีดวัคชีนต้องแจ้งอยู่ในรายการที่จะให้บริการด้วย

35 การเจาะและจัดเก็บเลือดทางเส้นเลือดดำ
แผนการรักษาของแพทย์ แนวทางการรักษาพยาบาล/DM ไม่เป็นผู้ตรวจหรือวิเคราะห์ผล

36 การใช้บุคคลเป็นหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว
ข้อบังคับของประธานศาลฎีกา หลักเกณฑ์ การเรียกประกันหรือหลักประกัน ในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2548 ข้อ 12 การประกันตนเองของผู้ต้องหา หรือจำเลยที่เป็นเจ้าพนักงานหรือผู้ประกอบวิชาชีพ แพทย์ เภสัชกร พยาบาล วิศวกร สถาปนิก ทนายความ ผู้สอบบัญชี ครู ผู้สื่อข่าว หรือที่ศาลเห็นสมควรในความผิดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือการประกอบวิชาชีพนั้น ให้ทำสัญญาประกันตนเองได้ไม่เกิน 15 เท่า ของอัตราเงินเดือน หรือรายได้เฉลี่ยต่อเดือน

37 การขอความเห็นจากสภาฯ ก่อนการมีคำสั่งคดี
การขอความร่วมมือ จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ หนังสือที่ ตร /ว.85 ลงวันที่ 13 กันยายน 2556 การขอความร่วมมือ สำนักงานอัยการสูงสุด หนังสือ ที่ อส.0007/(พก)/6181 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2557

38 บทบาทของสภาวิชาชีพฯ 1.การทำความเห็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของพยาบาลฯเพื่อประกอบการ พิจารณาการสำนวนการของพนักงานสอบสวนหรืออัยการหรือศาล 2.ตรวจรายละเอียดของเอกสารการทั้งหมดและหารือราชวิทยาลัย ในประเด็นที่สงสัย สภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับประเด็นในคดีก่อนทำความเห็น 3.ขึ้นเป็นพยานในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้ความเห็น 4.เสนอขอแก้ไขกฎหมายหรือออกข้อบังคับในการปฎิบัติงานของพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น(ถ้ามี)

39 Q&A


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงานเพื่อลดความเสี่ยง ด้านจริยธรรมและกฎหมาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google