โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Research- Fact finding
Advertisements

คลังความรู้สำนักชลประทานที่ 17
Information and Technology Center แผนการดำเนินการ ศูนย์เทคโนโลยีและสารสนเทศ กรม ทางหลวงชนบท 20 กุมภาพันธ์ 2558.
แผนก มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น.
วิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพ โอกาส (Opportunity: O)
โครงการ : การศึกษาและจัดทำระบบ GIS การพัฒนาลุ่มน้ำกลุ่มจังหวัด ( บางปะกง ปราจีนบุรี นครนายก โตนเลสาป ) กลุ่ม D.
ผลการดำเนินงาน PM 18 การบริหารจัดการโครงการ คณะกรรมการสุขศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 9 กันยายน 2558.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
The supply chain management system at
แนวปฏิบัติสำหรับการศึกษานานาชาติ
การจัดการองค์ความรู้
การค้นหาเส้นทางและพิกัดตำแหน่งบ้านผู้ป่วย
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
TIM2303 การขายและตลาดอุตสาหกรรมท่องเที่ยว SALE & MARKETING IN Tourism Industry อ.เอกชัย สีทำมา.
โครงการพัฒนาเกษตรใช้น้ำน้อย (DESIGN BY AGRI MAP) สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าตำบลตูม อำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา.
ระเบียบวาระการประชุม
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
โครงการชลประทานมุกดาหาร Work Smart Award 2017 สำนักงานชลประทานที่ 7
กองอสังหาริมทรัพย์ กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก.
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
การสวัสดิการกองทัพเรือ
โรงพยาบาลนนทเวช.
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7 Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7 หมวด 2 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

1 2 3 4 หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด ความต่อเนื่อง แนวทางก้าวสู่ work smart Award 2017 Rio7 การวางแผนพัฒนา กระบวนงานตามภารกิจ 1 2 แนวทางยุทธศาสตร์ หน่วยงาน นำผลการสรุปบทเรียนตามภารกิจ ตามข้อ 1.7 ไปวางแผนปรับปรุงพัฒนากระบวนงาน ตามภารกิจ อย่างไร หน่วยงาน มีการวิเคราะห์การจัดทำยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ อย่างไร 3 การถ่ายทอด 4 ความต่อเนื่อง หน่วยงาน มีการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการอย่างทั่วถึง และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด อย่างไร หน่วยงาน มีแนวทาง กำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการ อย่างไร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.1 การวางแผนพัฒนากระบวนงานตามภารกิจ โครงการชลประทานยโสธร ได้นำผลการสรุปบทเรียนตามภารกิจตามข้อ 1.7 ไปวางแผนปรับปรุงพัฒนากระบวนงานตามภารกิจได้ดังนี้ นำผลการสรุปบทเรียนจากข้อ 1.7 มาจัดทำแผนปรับปรุงพัฒนากระบวนงานตามภารกิจ โดยใช้ข้อมูลจากการทบทวน ปัญหาอุปสรรคต่างๆเป็นข้อมูลสำคัญ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

แผนการดำเนินงานของส่วนแผนงาน โครงการชลประทานยโสธร แผนการดำเนินงานของส่วนแผนงาน โครงการชลประทานยโสธร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

คำสั่งแต่งตั้งทีมงานจัดการความรู้ (KM Team) โครงการชลประทานยโสธร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.2 แนวทางยุทธศาสตร์ โครงการชลประทานยโสธร ได้มีการวิเคราะห์การจัดทำยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ มีการดำเนินงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประกอบด้วยขั้นตอน การดำเนินงาน 5 ขั้นตอน ได้แก่ ชี้ปัญหา วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา กำหนดยุทธศาสตร์ จัดทำกลยุทธ์/แนวทางการดำเนินงาน เพื่อจัดทำแผนงานระยะต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ ให้โครงการแจ้งรายละเอียดของการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT) และยกตัวอย่างแผนงานที่ได้จากการวิเคราะห์ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม จังหวัดยโสธร ประกอบด้วยลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ ได้แก่ ลุ่มน้ำโขง ลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล ลุ่มน้ำย่อย 7 ลุ่มน้ำ ได้แก่ ลำห้วยทม (ลุ่มน้ำโขง) ลำน้ำยัง ลำทวน ลำน้ำชี (ลุ่มน้ำชี) ลำเซบาย ห้วยโพง ห้วยน้ำเค็ม (ลุ่มน้ำมูล) พื้นที่ลุ่มน้ำรวม 4,099.9 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ป่า 291,547 ไร่ พื้นที่การเกษตร 4,494,451 ไร่ ที่เหลือเป็นพื้นที่เมืองและอื่นๆซึ่งสามารถวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมออกได้ดังนี้ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.2 - 1 รายละเอียดของการวิเคราะห์จุดแข็ง 1. ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength) 1.1. พื้นที่ลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำย่อย 7 ลุ่มน้ำ มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปีสูงปริมาณน้ำท่าจำนวนมาก 1.2. บุคลากรของโครงการชลประทานยโสธร มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์และดำเนินการบริหารจัดการตามยุทธศาสตร์ได้ 1.3. พื้นที่จังหวัดยโสธร เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการชลประทานขนาดต่างๆ ได้เป็นจำนวนมาก 1.4. โครงการชลประทานยโสธร มีการนำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) และแผนที่ Agri-Map มาใช้ได้ 1.5. พื้นที่บริเวณริมแม่น้ำชี สามารถนำน้ำมาใช้ได้ทั้งปี 1.6. มีการบูรณาการที่ดีทางด้านยุทธศาสตร์ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ ในระดับจังหวัด โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.2 - 1 รายละเอียดของการวิเคราะห์จุดแข็ง 1.7. มีการบริหารจัดการน้ำตามปริมาณน้ำต้นทุนของพื้นที่ชลประทานทั้ง 2 อ่าง ได้ตลอดฤดูกาล 1.8. มีการบูรณาการในการบริหารจัดการน้ำ ร่วมกับสมาคม กลุ่มผู้ใช้น้ำ เกษตรกร และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี 1.9. มีกลุ่มผู้ใช้น้ำในเขตชลประทานที่เข้มแข็ง คือ กลุ่มผู้ใช้น้ำในเขตชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยสะแบก โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.2 - 2 รายละเอียดของการวิเคราะห์จุดอ่อน 2.ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness) 1. พื้นที่จังหวัดยโสธรไม่เหมาะสมในการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่ 2. การเพิ่มพื้นที่ชลประทานต้องใช้ระบบท่อที่มีต้นทุนสูง 3. บุคลากรมีจำนวนจำกัด จึงไม่สามารถบริหารจัดการน้ำได้อย่างเต็มที่ 4. เครือข่ายเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารยังไม่ครอบคลุมทั่วทั้งจังหวัด 5. เครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำ และการก่อสร้าง ในการพัฒนาแหล่งน้ำไม่เพียงพอ 6. ขาดความต่อเนื่องในการถ่ายทอดงานจากรุ่นสู่รุ่น 7. โครงการชลประทานยโสธร มีบุคลากรในการสร้างความเข้าใจด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ แก่ชุมชนไม่เพียงพอกับความต้องการ 8. ไม่มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลที่ดีพอ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.2 - 3 รายละเอียดของการวิเคราะห์โอกาส  3. ผลการวิเคราะห์โอกาส (Opportunities) 1. นโยบายรัฐบาลสนับสนุนให้มีการพัฒนาอาชีพด้านต่างๆ 2. นโยบายรัฐบาลสนับสนุนการจัดโซนนิ่งภาคการเกษตร (เกษตรแปลงใหญ่) 3. จังหวัดยโสธรมีแหล่งเก็บกักน้ำไม่เพียงพอสำหรับรองรับการพัฒนาการเกษตร 4. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเข้ามาดูแลบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 5. มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 6. ประชาชนและผู้นำท้องถิ่นในจังหวัดยโสธรให้ความสนใจและร่วมมือในการพัฒนาแหล่งน้ำ 7. จังหวัดยโสธรมีพื้นที่ชลประทานน้อยเมื่อเทียบสัดส่วนกับพื้นที่การเกษตรของจังหวัด 8. จังหวัดยโสธรให้ความสำคัญในด้านการบริหารจัดการน้ำและการพัฒนาแหล่งน้ำ 9. มีแม่น้ำชี เป็นแม่น้ำสำคัญในการส่งเสริมอาชีพและพัฒนาการเกษตร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.2 - 4 รายละเอียดของการวิเคราะห์อุปสรรค 4. ผลการวิเคราะห์อุปสรรค (Threat) 1. นโยบายในการพัฒนาแหล่งน้ำไม่แน่นอนและขาดความต่อเนื่อง 2. จังหวัดยโสธร ได้รับการจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอกับศักยภาพและความต้องการในการพัฒนาแหล่งน้ำ 3. จังหวัดยโสธร ให้ความสำคัญกับการพัฒนาแหล่งน้ำ แต่ราษฎรยังไม่ให้การสนับสนุนเรื่องที่ดินเท่าที่ควร 4. มีการบุกรุกที่สาธารณะประโยชน์ทำให้การพัฒนาแหล่งน้ำมีความยากยิ่งขึ้น 5. ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ 6. ขาดการบูรณาการทางข้อมูลระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรม 7. ขาดระบบข้อมูลในรูปแบบของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 8. มีข้อกำหนดในด้านกฎหมายการใช้ที่ดิน เพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.3 การถ่ายทอด โครงการชลประทาน ยโสธรได้มีการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจ ยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการของ หน่วยงาน ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการ อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ดังนี้ มีการถ่ายทอดยุทธศาสตร์และคำรับรอง การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ผ่านตัวชี้วัดไปสู่ การปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานโดยใช้ ช่องทางต่างๆในการสื่อสาร อย่างทั่วถึง โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

ถ่ายทอด ยุทธศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการชลประทานยโสธร แผนยุทธศาสตร์ พ.ศ.2560 – 2564 และผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ผ่านการประชุม โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

เผยแพร่ยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติ โครงการชลประทานยโสธร อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี ทาง http://province.rid.go.th/yasoth/joomla/index.php/about/2015-01-12-03-39-45 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

2.4 ความต่อเนื่อง โครงการชลประทาน ยโสธรมีแนวทาง กำกับ ติดตาม การดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการ ดังนี้ มีการกำกับ ติดตามการดำเนินงานเพื่อให้ เป็นไปตามแผนที่วางไว้ พร้อมทั้งรายงานผล ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการที่ ครบถ้วนสมบูรณ์ ให้ สชป.7 ภายในระยะเวลาที่ กำหนด โดยมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบในการ รายงานผลที่ชัดเจน โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7

รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7