โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7 Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7 หมวด 2 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
1 2 3 4 หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด ความต่อเนื่อง แนวทางก้าวสู่ work smart Award 2017 Rio7 การวางแผนพัฒนา กระบวนงานตามภารกิจ 1 2 แนวทางยุทธศาสตร์ หน่วยงาน นำผลการสรุปบทเรียนตามภารกิจ ตามข้อ 1.7 ไปวางแผนปรับปรุงพัฒนากระบวนงาน ตามภารกิจ อย่างไร หน่วยงาน มีการวิเคราะห์การจัดทำยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ อย่างไร 3 การถ่ายทอด 4 ความต่อเนื่อง หน่วยงาน มีการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการอย่างทั่วถึง และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด อย่างไร หน่วยงาน มีแนวทาง กำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการ อย่างไร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.1 การวางแผนพัฒนากระบวนงานตามภารกิจ โครงการชลประทานยโสธร ได้นำผลการสรุปบทเรียนตามภารกิจตามข้อ 1.7 ไปวางแผนปรับปรุงพัฒนากระบวนงานตามภารกิจได้ดังนี้ นำผลการสรุปบทเรียนจากข้อ 1.7 มาจัดทำแผนปรับปรุงพัฒนากระบวนงานตามภารกิจ โดยใช้ข้อมูลจากการทบทวน ปัญหาอุปสรรคต่างๆเป็นข้อมูลสำคัญ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
แผนการดำเนินงานของส่วนแผนงาน โครงการชลประทานยโสธร แผนการดำเนินงานของส่วนแผนงาน โครงการชลประทานยโสธร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
คำสั่งแต่งตั้งทีมงานจัดการความรู้ (KM Team) โครงการชลประทานยโสธร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.2 แนวทางยุทธศาสตร์ โครงการชลประทานยโสธร ได้มีการวิเคราะห์การจัดทำยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ มีการดำเนินงานจัดทำแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประกอบด้วยขั้นตอน การดำเนินงาน 5 ขั้นตอน ได้แก่ ชี้ปัญหา วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา กำหนดยุทธศาสตร์ จัดทำกลยุทธ์/แนวทางการดำเนินงาน เพื่อจัดทำแผนงานระยะต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ ให้โครงการแจ้งรายละเอียดของการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT) และยกตัวอย่างแผนงานที่ได้จากการวิเคราะห์ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม จังหวัดยโสธร ประกอบด้วยลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ ได้แก่ ลุ่มน้ำโขง ลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล ลุ่มน้ำย่อย 7 ลุ่มน้ำ ได้แก่ ลำห้วยทม (ลุ่มน้ำโขง) ลำน้ำยัง ลำทวน ลำน้ำชี (ลุ่มน้ำชี) ลำเซบาย ห้วยโพง ห้วยน้ำเค็ม (ลุ่มน้ำมูล) พื้นที่ลุ่มน้ำรวม 4,099.9 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ป่า 291,547 ไร่ พื้นที่การเกษตร 4,494,451 ไร่ ที่เหลือเป็นพื้นที่เมืองและอื่นๆซึ่งสามารถวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมออกได้ดังนี้ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.2 - 1 รายละเอียดของการวิเคราะห์จุดแข็ง 1. ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง (Strength) 1.1. พื้นที่ลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำย่อย 7 ลุ่มน้ำ มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปีสูงปริมาณน้ำท่าจำนวนมาก 1.2. บุคลากรของโครงการชลประทานยโสธร มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์และดำเนินการบริหารจัดการตามยุทธศาสตร์ได้ 1.3. พื้นที่จังหวัดยโสธร เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการชลประทานขนาดต่างๆ ได้เป็นจำนวนมาก 1.4. โครงการชลประทานยโสธร มีการนำระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) และแผนที่ Agri-Map มาใช้ได้ 1.5. พื้นที่บริเวณริมแม่น้ำชี สามารถนำน้ำมาใช้ได้ทั้งปี 1.6. มีการบูรณาการที่ดีทางด้านยุทธศาสตร์ร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ ในระดับจังหวัด โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.2 - 1 รายละเอียดของการวิเคราะห์จุดแข็ง 1.7. มีการบริหารจัดการน้ำตามปริมาณน้ำต้นทุนของพื้นที่ชลประทานทั้ง 2 อ่าง ได้ตลอดฤดูกาล 1.8. มีการบูรณาการในการบริหารจัดการน้ำ ร่วมกับสมาคม กลุ่มผู้ใช้น้ำ เกษตรกร และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี 1.9. มีกลุ่มผู้ใช้น้ำในเขตชลประทานที่เข้มแข็ง คือ กลุ่มผู้ใช้น้ำในเขตชลประทานอ่างเก็บน้ำห้วยสะแบก โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.2 - 2 รายละเอียดของการวิเคราะห์จุดอ่อน 2.ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness) 1. พื้นที่จังหวัดยโสธรไม่เหมาะสมในการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่ 2. การเพิ่มพื้นที่ชลประทานต้องใช้ระบบท่อที่มีต้นทุนสูง 3. บุคลากรมีจำนวนจำกัด จึงไม่สามารถบริหารจัดการน้ำได้อย่างเต็มที่ 4. เครือข่ายเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารยังไม่ครอบคลุมทั่วทั้งจังหวัด 5. เครื่องมือในการบริหารจัดการน้ำ และการก่อสร้าง ในการพัฒนาแหล่งน้ำไม่เพียงพอ 6. ขาดความต่อเนื่องในการถ่ายทอดงานจากรุ่นสู่รุ่น 7. โครงการชลประทานยโสธร มีบุคลากรในการสร้างความเข้าใจด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ แก่ชุมชนไม่เพียงพอกับความต้องการ 8. ไม่มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลที่ดีพอ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.2 - 3 รายละเอียดของการวิเคราะห์โอกาส 3. ผลการวิเคราะห์โอกาส (Opportunities) 1. นโยบายรัฐบาลสนับสนุนให้มีการพัฒนาอาชีพด้านต่างๆ 2. นโยบายรัฐบาลสนับสนุนการจัดโซนนิ่งภาคการเกษตร (เกษตรแปลงใหญ่) 3. จังหวัดยโสธรมีแหล่งเก็บกักน้ำไม่เพียงพอสำหรับรองรับการพัฒนาการเกษตร 4. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเข้ามาดูแลบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ 5. มีการจัดทำแผนแบบบูรณาการทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 6. ประชาชนและผู้นำท้องถิ่นในจังหวัดยโสธรให้ความสนใจและร่วมมือในการพัฒนาแหล่งน้ำ 7. จังหวัดยโสธรมีพื้นที่ชลประทานน้อยเมื่อเทียบสัดส่วนกับพื้นที่การเกษตรของจังหวัด 8. จังหวัดยโสธรให้ความสำคัญในด้านการบริหารจัดการน้ำและการพัฒนาแหล่งน้ำ 9. มีแม่น้ำชี เป็นแม่น้ำสำคัญในการส่งเสริมอาชีพและพัฒนาการเกษตร โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.2 - 4 รายละเอียดของการวิเคราะห์อุปสรรค 4. ผลการวิเคราะห์อุปสรรค (Threat) 1. นโยบายในการพัฒนาแหล่งน้ำไม่แน่นอนและขาดความต่อเนื่อง 2. จังหวัดยโสธร ได้รับการจัดสรรงบประมาณไม่เพียงพอกับศักยภาพและความต้องการในการพัฒนาแหล่งน้ำ 3. จังหวัดยโสธร ให้ความสำคัญกับการพัฒนาแหล่งน้ำ แต่ราษฎรยังไม่ให้การสนับสนุนเรื่องที่ดินเท่าที่ควร 4. มีการบุกรุกที่สาธารณะประโยชน์ทำให้การพัฒนาแหล่งน้ำมีความยากยิ่งขึ้น 5. ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ 6. ขาดการบูรณาการทางข้อมูลระหว่างหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรม 7. ขาดระบบข้อมูลในรูปแบบของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 8. มีข้อกำหนดในด้านกฎหมายการใช้ที่ดิน เพื่อการพัฒนาแหล่งน้ำ โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.3 การถ่ายทอด โครงการชลประทาน ยโสธรได้มีการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจ ยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการของ หน่วยงาน ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการ อย่างทั่วถึง และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ดังนี้ มีการถ่ายทอดยุทธศาสตร์และคำรับรอง การปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ผ่านตัวชี้วัดไปสู่ การปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานโดยใช้ ช่องทางต่างๆในการสื่อสาร อย่างทั่วถึง โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
ถ่ายทอด ยุทธศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการชลประทานยโสธร แผนยุทธศาสตร์ พ.ศ.2560 – 2564 และผลการดำเนินงาน ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ผ่านการประชุม โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
เผยแพร่ยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติ โครงการชลประทานยโสธร อย่างต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปี ทาง http://province.rid.go.th/yasoth/joomla/index.php/about/2015-01-12-03-39-45 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
2.4 ความต่อเนื่อง โครงการชลประทาน ยโสธรมีแนวทาง กำกับ ติดตาม การดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการ ดังนี้ มีการกำกับ ติดตามการดำเนินงานเพื่อให้ เป็นไปตามแผนที่วางไว้ พร้อมทั้งรายงานผล ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการที่ ครบถ้วนสมบูรณ์ ให้ สชป.7 ภายในระยะเวลาที่ กำหนด โดยมีการมอบหมายผู้รับผิดชอบในการ รายงานผลที่ชัดเจน โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7