Bond and Fixed Income Highlight

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ETF & Mutual Fund กองทุนรวม ซื้อขายโดยดูความสามารถของกองทุนฯนั้นๆเป็นหลัก แต่ ETF ดูที่สินทรัพย์อ้างอิง NAV ของกองทุนฯ ดูเมื่อสิ้นวัน แต่ ETF นั้น ดูแบบ.
Advertisements

เดือนเมษายน ดาวอาทิตย์ และดาวพฤหัส โคจรเข้าสู่เรือนที่ 3 หมายถึงการเดินทาง และการติดต่อสื่อสาร อาจจะมีการเปลี่ยนงาน หรือย้ายที่ทำงาน หรืออาจได้เลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้น.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนเมษายน 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือน พฤษภาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ 30 ธันวาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร , 2120 –
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน สิงหาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน พฤษภาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิง เปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือน กรกฎาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ 29 ตุลาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2555
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ สิ้นเดือนมกราคม 2556
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 เมษายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 31 สิงหาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 29 กุมภาพันธ์ 2551.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 พฤศจิกายน 2550.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 มิถุนายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 31 สิงหาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนมกราคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - 30 มิถุนายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร 02.
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ 29 ตุลาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 –
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร , 2120 – ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ 30 พฤศจิกายน.
The Stock Exchange of Thailand ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122, 2128
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 กรกฎาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ 31 พฤษภาคม 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร –
The Stock Exchange of Thailand ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – 30 เมษายน 2553 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์องค์กร โทร – 2122,
Form Based Codes Presentation
Investment Forum March 1, Wealth Asset Recommendation สินทรัพย์ สภาพ คล่อง เงินฝากออมทรัพย์ พิเศษ กองทุนพันธ์บัตร ระยะสั้น ผลตอบแทน และสภาพคล่องสูง.
Asset Allocation Model
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
Weekly Strategy SET Index : ผันผวนอยู่ในกรอบ 1, ,310 จุด
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
การเงินระหว่างประเทศ
Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ?
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
การพัฒนาหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ TMBAM M Choice เฉพาะส่วน มหาวิทยาลัยมหิดล
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
“สถานการณ์เศรษฐกิจภูมิภาคของไทยล่าสุด”
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
ตาม ม.40 แห่งประมวลรัษฎากร
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Bond and Fixed Income Highlight 27 พ.ย. 2560 Market Performance News & Economic Highlight ตลาดหุ้นสหรัฐอเมริกา : ปิดทรงตัว ท่ามกลางปริมาณการซื้อขายที่เบาบาง เนื่องจากนักลงทุนชะลอการซื้อขายก่อนวันหยุด โดยหุ้นกลุ่มบริการด้านเทเลคอม ปรับตัวขึ้นมากที่สุด และหุ้นกลุ่มพลังงานบวกขึ้นตามราคาน้ำมันดิบ ตลาดหุ้นยุโรป : ปรับตัวลง จากผลของยูโรที่แข็งค่าขึ้น และจากความ ล้มเหลวในการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ของเยอรมนี ตลาดหุ้นเอเชีย : ตลาดหุ้นญี่ปุ่น : ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากแรงหนุนของหุ้นขนาดใหญ่ อาทิ หุ้น ซอฟท์แบงก์ และหุ้นฟานุค และหุ้นกลุ่มการเงิน รวมถึงความหวังต่อเศรษฐกิจโลกที่ ช่วยหนุนบรรยากาศซื้อขายในตลาดหุ้นทั่วโลก ตลาดหุ้นจีน : ปรับตัวเพิ่มขึ้น จากแรงหนุนของหุ้นกลุ่มธนาคารและกลุ่ม พลังงาน สวนทางกับหุ้นกลุ่มผู้บริโภค และกลุ่มเฮลธ์แคร์ที่ปรับฐานลง หลังปรับตัวขึ้น ในช่วงที่ผ่านมา ตลาดหุ้นฮ่องกง : ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยได้แรงหนุนจากหุ้นกลุ่มพลังงาน หุ้น กลุ่มการเงินและหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ขณะที่มีสัญญาณว่านักลงทุนจีนมีการลงทุน ในตลาดหุ้นฮ่องกงเพิ่มขึ้น ตลาดหุ้นไทย : ปรับตัวเพิ่มขึ้นตาม sentiment ของตลาดโลก รวมถึงแรง หนุนจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวขึ้น ท่ามกลางมูลค่าการซื้อขายปานกลางที่ 57,615.64 ล้านบาท ขณะที่นักลงทุนต่างชาติพลิกกลับมากมีสถานะซื้อสุทธิ 917.54 ล้านบาท Bond and Fixed Income Highlight อัตราผลตอบแทนพันธบัตรสหรัฐฯ อายุ10 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 2.3683% หลังจากตัวเลขดัชนีชี้นำเศรษฐกิจของสหรัฐฯออกมาดีกว่าคาด อัตราผลตอบแทนพันธบัตรไทยอายุ 2 ปี และ10ปี ปรับตัวลดลงอยู่ที่ 1.470% และ 2.370% ตามลำดับ Commodity Highlight ราคาน้ำมันล่วงหน้า NYMEX : ปรับตัวลดลงเล็กน้อยเนื่องจากนักลงทุนชะลอการซื้อขายก่อนที่การประชุมกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (โอเปก) จะมีขึ้นในสัปดาห์หน้า ขณะที่นักลงทุนจับตารายงานสต็อกน้ำมันดิบของสหรัฐฯ ราคาทอง : ปรับตัวลดลงจากสกุลเงินดอลลาร์ฯที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับยูโร ซึ่งเป็นผลมาจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์การเมืองในเยอรมนี

Weekly Investment View 27 พ.ย. – 1 ธ.ค. 2560 Weekly Investment View ในสัปดาห์ที่ผ่านมา ตลาดหุ้นทั่วโลกปิดปรับตัวลดลงโดยได้รับแรงกดดันจากการประกาศตัวเลขเศรษฐกิจจีนเช่น ยอดค้าปลีก การผลิตภาคอุตสาหกรรม และ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรที่ชะลอตัวลง และ ความกังวลต่อความไม่แน่นอนในการปฎิรูปภาษีของสหรัฐฯ รวมถึงการประกาศผลประกอบการผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนในไตรมาส 3 ในแต่ละประเทศ ในสัปดาห์นี้ นักลงทุนยังคงต้องติดตาม 1) ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค ขั้นสุดท้ายเดือน พ.ย ของสหรัฐฯ (22 พ.ย.) 2) ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนของสหรัฐฯ เดือน ต.ค. (22 พ.ย.) 3) ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. ของยุโรป (22 พ.ย.) 4) ประมาณการ GDP ไตรมาส 3/60 ครั้งที่ 2 ของอังกฤษ (23 พ.ย.) 5) ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) เดือน ต.ค. ของยุโรปและสหรัฐฯ (23 พ.ย. , 24 พ.ย.) Thai Stock Market Global Stock Market บลจ.วรรณ คาดว่าตลาดหุ้นไทยสัปดาห์นี้จะแกว่งตัวลักษณะ sideway up ในกรอบ 1,690-1,730 จุด โดยตลาดไทยคาดว่าจะยังได้แรงหนุนจาก 1) ราคาน้ำมันดิบโลกที่ยังอยู่ในระดับสูงจากความคาดหวังต่อการปรับลดกำลังการผลิตน้ำมันของกลุ่มโอเปก ซึ่งจะส่งผลบวกต่อหุ้นกลุ่มพลังาน  2) การประกาศ GDP ไตรมาส 3 ออกมาดีกว่าคาดและมีการขยายตัว 4.3% โดยมีการเติบโตมาจากการขยายตัวของการท่องเที่ยว และ ส่งออก  3)มาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวที่คาดว่า กระทรวงการคลัง จะนำเสนอเข้า ครม พิจารณา ในสัปดาห์นี้   ในส่วนของข่าวมาตรการปฎิรูปภาษีของสหรัฐฯคาดว่าจะเป็นปัจจัยกดดันในตลาดหุ้นไทยเพียงระยะสั้นเท่านั้น เนื่องจากทาง บลจ.วรรณ คาดว่าแรงขายของนักลงทุนต่างชาติจะเริ่มมีการชะลอตัวลงในช่วงถัดไป บลจ.วรรณ มองว่า สินทรัพย์เสี่ยงทั่วโลกมีแนวโน้มแกว่งตัวในกรอบ (sideway) โดยคาดว่าตลาดยังคงจับตามองการบังคับใช้กฎหมายปฏิรูปภาษีของสหรัฐฯ ซึ่งวุฒิสมาชิกจะมีการโหวตภายในสัปดาห์นี้ อย่างไรก็ตามคาดว่าปัจจัยดังกล่าวจะเป็นเพียงปัจจัยเข้ามากระทบในระยะสั้น ขณะที่ตัวเลขเศรษฐกิจของประเทศต่างๆที่ยังดีขึ้นต่อเนื่องจะช่วยสนับสนุนให้ตลาดหุ้นปรับตัวลงไม่มากและมีโอกาสปรับตัวขึ้นในช่วงต่อไป   ทั้งนี้ให้ติดตามรายละเอียดมาตรการปฎิรูปภาษีของสหรัฐฯ และ ตัวเลขเศรษฐกิจที่สำคัญต่างๆในสัปดาห์นี้ Factor 20 พ.ย. 60 JP - ตัวเลขนำเข้าและส่งออกเดือน ต.ค. US - ดัชนีชี้นำทางเศรษฐกิจเดือน ต.ค. TH - GDP ไตรมาส 3 21 พ.ย. 60 US - ยอดขายบ้าน ต.ค. 22 พ.ย. 60 US - ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค ขั้นสุดท้ายเดือน พ.ย - ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทน เดือน ต.ค. - รายงานการประชุม FOMC (31 ต.ค. -1 พ.ย.) EU - ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 23 พ.ย. 60 EU - ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคการผลิต พ.ย UK - แถลงการณ์ของประธานธนาคารกลางอังกฤษ - ประมาณการ GDP ไตรมาส 3/60 ครั้งที่ 2 24 พ.ย.60 US - ประมาณการดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคการผลิต และ บริการ พ.ย. Bond Market ในสัปดาห์นี้ บลจ.วรรณ คาดว่าอัตราผลตอบแทนพันธบัตรของไทยมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามตลาดพันธบัตรของสหรัฐฯ โดยยังมีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการผ่านร่างกฎหมายการปฎิรูปภาษีของสหรัฐฯที่จะผ่านวุฒิสภาเป็นแรงหนุนให้นักลงทุนยังคงเข้าซื้อพันธบัตร อย่างไรก็ตามในช่วงต่อไปหากกฎหมายการปฎิรูปภาษีของสหรัฐฯมีแนวโน้มผ่านมากขึ้นอาจจะส่งผลให้ดอลลาร์ฯแข็งค่าและกดดันให้ค่าเงินบาทอ่อนค่า ส่งผลให้นักลงทุนต่างชาติอาจมีการขายทำกำไรในพันธบัตรไทยได้  ในส่วนของปัจจัยภายในประเทศในสัปดาห์นี้จะมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลรุ่น LB366A และ พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย BOT209A ซึ่งคาดว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่อการเคลื่อนไหวของตลาดตราสารหนี้ไทยมากนักเนื่องจากสภาพคล่องในประเทศยังอยู่ในระดับสูงมาก

Fund Recommendation (ในช่วงไตรมาส 4/60) ONE-FIXED กองทุนฯ จะลงทุนในเงินฝากและตราสารหนี้ภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ โดยตราสารที่ลงทุนมีอายุเฉลี่ยไม่เกิน 1 ปี กองทุนฯ เน้นลงทุนในตราสารที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือในระดับ Investment Grade เหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการสร้างผลตอบแทนจากการลงทุนระยะสั้นและต้องการสภาพคล่อง ONE-GLOBHY กองทุนลงทุนผ่านกองทุน BNY Mellon Global Short-Dated High Yield Bond Fund(กองทุนหลัก) Class USD W (Acc.) ในสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) จะลงทุนในตราสารหนี้ระยะสั้นทั่วโลกที่ให้ผลตอบแทนในระดับสูง (High Yield Bond) และมีอายุเฉลี่ยไม่เกิน 3 ปี เหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการกระจายการลงทุนไปในตราสารหนี้ต่างประเทศเพื่อสร้างผลตอบแทนระดับสูง โดยสามารถรับความเสี่ยงเกี่ยวกับการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงด้านเครดิตระดับสูง รวมถึงสามารถยอมรับการขาดทุนเงินต้น และความผันผวนของอัตราผลตอบแทนในบางช่วงของระยะเวลาที่ถือหน่วยลงทุน ONE-STOXXASEAN ลงทุนในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์กลุ่มประเทศอาเซียนที่มีอัตราการจ่ายเงินปันผลสูงที่เป็นส่วนประกอบของดัชนี STOXX ASEAN SELECT DIVIDEND 30 โอกาสการลงทุนกลุ่มอาเซียนที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงจากอานิสงส์ของการเข้าร่วมกลุ่ม AEC การเติบโตของการบริโภคจากประชากรและการดำเนินนโยบายการเมืองต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกันและการแข่งขันได้ในตลาดโลก ONE-UGG กองทุนฯ จะลงทุนในกองทุน Baillie Gifford Long Term Global Growth Fund (กองทุนหลัก) โดยกองทุนหลักจะเน้นลงทุนในตราสารทุนทั่วโลกที่มีศักยภาพในการเติบโต (Growth) และเน้นลงทุนในระยะยาวเพื่อให้สร้างผลตอบแทน รวมทั้งจะมีการผสมผสานกลยุทธ์การลงทุนและการสร้างผลตอบแทนอย่างเหมาะสม เหมาะสำหรับนักลงทุนที่ยอมรับความเสี่ยงได้สูงและต้องการกระจายการลงทุนในตลาดหุ้นต่างประเทศ ONE-APACPROP เน้นลงทุนผ่านกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (REIT) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ไม่รวมประเทศญี่ปุ่น (Asia Pacific ex Japan) ในลักษณะ Fund of Funds ผ่านกองทุนอสังหาริมทรัพย์เอเชียชั้นนำ 2 กองทุนรวม ได้แก่ NikkoAM-StraitsTrading Asia ex-Japan REIT ETF และ Phillip SGX APAC Dividend Leaders REIT ETF เหมาะสำหรับนักลงทุนที่ยอมรับความเสี่ยงได้สูงและต้องการกระจายการลงทุนในตลาดอสังหาริมทรัพย์ต่างประเทศ 1SG-LTF กองทุนรวมหุ้นระยะยาว การบริหารกองทุนแบบเชิงรุกเพื่อโอกาสสร้างผลตอบแทนให้ชนะ SET Index (Benchmark) จากการคัดเลือกหุ้น (Stock Selection) โดยเน้นลงทุนในหุ้นขนาดใหญ่ถึงกลาง ที่มีปัจจัยพื้นฐานที่ดีและหุ้นที่มีแนวโน้มการเติบโตที่ดีในแต่ละช่วงที่เหมาะสม กองทุนฯ ไม่มีนโยบายจ่ายเงินปันผลระหว่างทาง แต่จะนำเงินปันผลที่ได้รับจากการลงทุนในหุ้นไป re-invest เพื่อสร้างผลตอบแทนให้แก่กองทุน เหมาะสำหรับ 1) นักลงทุนที่ต้องการกระจายการลงทุนในหุ้นและรับความเสี่ยงได้สูง 2) บุคคลธรรมดาที่ต้องการลดหย่อยภาษีและปฏิบัติตามเงื่อนไข การลงทุนของการลงทุนประเภท LTF ได้ ONE-UGERMF กองทุนฯ เน้นสร้างโอกาสผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นทั่วโลกอย่างไม่มีข้อจำกัด โดยผ่านการลงทุนในหุ้นเติบโตในระยะยาวผ่านกองทุน Baillie Gifford Long Term Global Growth Fund (LTGG) และกระจายความเสี่ยงผ่านหน่วยลงทุน ETF ที่เน้นลงทุนในหุ้นขนาดใหญ่และกลางในประเทศที่พัฒนาแล้วผ่านกองทุน ETF : Ishares MSCI ACWI ETF และ SPDR MSCI ACWI UCITS ETF ได้รับประโยชน์สิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้สำหรับบุคลลธรรมดา เหมาะสำหรับ 1) นักลงทุนที่คาดหวังผลตอบแทนจากการลงทุนในหุ้นต่างประเทศที่มีศักยภาพในการเติบโตสูง 2) บุคคลธรรมดาที่ต้องการลดหย่อยภาษีและปฏิบัติตามเงื่อนไขการลงทุนของการลงทุนประเภท RMF ได้