ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ปรับปรุงล่าสุด 09/04/53 จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
Management Plus เป็นที่รู้จักดีในด้านการผลิต สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องทางด้านวิชาการ เป็นฐานข้อมูลที่ ครอบคลุมและสมบูรณ์ที่สุดในสาขาการจัดการ ครอบคลุม สาขาวิชาการบัญชีและการเงิน.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ปฐมนิเทศน์การใช้ห้องสมุด
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประยุกต์ใช้สื่อผสม นาย ธีรวัฒน์ พิสัยพันธ์ รหัส
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ศาสนาคริสต์111
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
บทที่ 4 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดหมวดหมู่หนังสือ (Book Classification)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
Integrated Information Technology
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
โต้วาทีอุดมศึกษา ญัตติ “มนุษย์แสนดีเลิศประเสริฐศรี”
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงสร้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์ และอาเซียน
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
ASTM Standards and Engineering Digital Library
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ศาสนาเชน Jainism.
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
แอดมิชชั่น กลาง.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources) ผศ.ดร.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์

ทรัพยากรสารสนเทศ คือ สารสนเทศที่มีการบันทึกไว้ในสื่อ ประเภทต่างๆ โดยนำเสนอด้วยตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว

ทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ 1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ (Printed Materials) 2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์หรือสื่อโสต ทัศน์(Audio Visual Materials) 3. ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.1 หนังสือ(Books) หนังสือสารคดี (Non Fiction Books) หนังสือทั่วไป (General Books) ตำราวิชาการ (Text Books) หนังสืออ่านประกอบ (Outside reading or external)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.1 หนังสือ (Books) หนังสือบันเทิงคดี(Fiction Books) นวนิยาย(Novel) การ์ตูน(Cartoon) รวมเรื่องสั้น (Short story collection) หนังสือเด็กและเยาวชน (Juvenile literature)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.2 หนังสืออ้างอิง (Reference books) หนังสืออ้างอิงที่ให้สารสนเทศโดยตรง พจนานุกรม (Dictionaries) สารานุกรม (Encyclopedias) หนังสือรายปี (Yearbooks) นามานุกรมหรือทำเนียบนาม (Directories) หนังสือคู่มือ (Handbooks/Manuals) อักขรานุกรมชีวประวัติ (Biographical Dictionaries) หนังสืออ้างอิงทางภูมิศาสตร์ (Geographical Sources)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.2 หนังสืออ้างอิง (Reference books) หนังสืออ้างอิงที่ให้สารสนเทศทางอ้อม หนังสือบรรณานุกรม (Bibliographies) หนังสือดรรชนี (Index)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.3 วารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodicals) หนังสือพิมพ์ (Newspapers) วารสารทั่วไปหรือนิตยสาร (Magazines) วารสารทางวิชาการ (Journal) วารสารวิเคราะห์และวิจารณ์ข่าว (News Magazines)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.4. จุลสาร (Pamphlets) 1.5. กฤตภาค (Clipping) 1.6 วิทยานิพนธ์ (Thesis หรือ Dissertations) 1.7 รายงาน (Reports) 1.8 สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publications)

1. ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ 1.9 สิทธิบัตร (Patents) 1.10 มาตรฐาน (Standards) 1.11 หนังสือตัวเขียน (Manuscripts) 1.12 จดหมายเหตุ (Archives)

2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์หรือสื่อโสตทัศน์ (Audio-visual Materials) สไลด์ (Slides) ฟิล์มสตริป (Filmstrips) แผ่นโปร่งใสหรือแผ่นใส (Transparencies) ภาพยนตร์ (Motion pictures) เทปบันทึกภาพ (Video tapes) วัสดุย่อส่วน (Microform Materials) - ไมโครฟิล์ม (Microfilms), ไมโครฟิช (Microfiche)

2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์หรือสื่อโสตทัศน์ (Audio-visual Materials) หุ่นจำลอง (Models) ของตัวอย่าง (Specimens) แผนที่ (Map) วัสดุกราฟิก (graphic materials)

2. ทรัพยากรสารสนเทศไม่ตีพิมพ์หรือสื่อโสตทัศน์ (Audio-visual Materials) 2.2 โสตวัสดุ (Audio Materials) แผ่นเสียง (Discs) แถบบันทึกเสียง/เทปบันทึกเสียง (Tapes/Tapes cassettes) คอมแพกต์ดิสก์ (Compact discs : CD)

3. ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) วารสารอิเล็กทรอนิกส์(e-Journals) ฐานข้อมูล (Database) หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Newspapers) เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Documents) กฤตภาคออนไลน์ (Clipping online)

3. 3. ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials) ซีดี-รอม (CD-ROM หรือ Compact Disc Read Only Memory) ดีวีดี (DVD = Digital Versatile Disc) บีดี(BD) หรือแผ่นบลูเรย์ดิสค์ (Blu-ray Disc)

3. 3. ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials) สื่อเพื่อการเรียนรู้อื่นๆ ได้แก่ อี-เลิร์นนิง (e-learning) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) อินเทอร์เน็ต (Internet) ในปัจจุบันทรัพยากรสารสนเทศประเภทตีพิมพ์บางส่วนได้เปลี่ยนมาอยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์เพื่อความสะดวกในการให้บริการ

การจัดระบบ ทรัพยากรสารสนเทศ

การจัดหมู่หนังสือ(Book classification) การจัดแบ่งหรือแยกประเภทหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ โดยยึดหลักการจัดเนื้อหาเหมือนกันไว้ด้วยกัน และมีการกำหนดสัญลักษณ์แทนเนื้อหา อาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือทั้งสองอย่าง เพื่อสะดวกในการจัดเก็บและค้นหา

ประโยชน์ของการจัดหมู่หนังสือ 1. สามารถค้นหาหนังสือได้ง่าย 2. หนังสือเนื้อหาเดียวกันอยู่ด้วยกัน 3. หนังสือเนื้อหาสัมพันธ์กันอยู่ด้วยกัน 4. จัดเก็บได้รวดเร็ว ค้นหาง่าย ประหยัดเวลา 5. ช่วยสำรวจหนังสือแต่ละหมวด

ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ 1. Dewey Decimal Classification 2. Library of Congress Classification 3. Expansive Classification 4. Universal Decimal Classification 5. Subject Classification 6. Bibliographic Classification 7. Colon Classification 8. Glidden Classification 9. National Library of Medicine

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดใหญ่ 000 เบ็ดเตล็ดหรือความรู้ทั่วไป (Generalities) 100 ปรัชญา (Philosophy) 200 ศาสนา (Religion) 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) 400 ภาษาศาสตร์ (Language) 500 วิทยาศาสตร์ (Science) 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี (Technology) 700 ศิลปกรรมและการบันเทิง (Arts and recreation) 800 วรรณคดี (Literature) 900 ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ (History and geography)

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 010 บรรณานุกรม แคตตาล็อก 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ 030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม 040 ยังไม่กำหนดใช้ 050 สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง วารสาร และดรรชนี 060 องค์การต่างๆ พิพิธภัณฑวิทยา 070 วารสารศาสตร์ การพิมพ์ 080 ชุมนุมนิพนธ์ 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 110 อภิปรัชญา 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ 130 จิตวิทยานามธรรม 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม 150 จิตวิทยา 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 210 ศาสนาธรรมชาติ 220 ไบเบิล 230 เทววิทยาตามแนวคริสต์ศาสนา 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา 270 ประวัติคริสต์ศาสนา 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 310 สถิติศาสตร์ 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง 330 เศรษฐศาสตร์ 340 กฎหมาย 350 รัฐประศาสนศาสตร์ การบริหารรัฐกิจ กองทัพ 360 ปัญหาสังคม การบริหารสังคม สมาคม 370 การศึกษา 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง 390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 410 ภาษาศาสตร์ 420 ภาษาอังกฤษ 430 ภาษาเยอรมัน 440 ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 470 ภาษาละติน 480 ภาษากรีก 490 ภาษาอื่นๆ

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 510 คณิตศาสตร์ 520 ดาราศาสตร์ 530 ฟิสิกส์ 540 เคมี 550 วิทยาศาสตร์โลก 560 บรรพชีวินวิทยา 570 ชีววิทยา 580 พฤกษศาสตร์ 590 สัตววิทยา

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 610 แพทยศาสตร์ 620 วิศวกรรมศาสตร์ 630 เกษตรศาสตร์ 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว 650 การจัดการธุรกิจ 660 วิศวกรรมเคมี 670 โรงงานอุตสาหกรรม 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร 690 การก่อสร้าง

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 710 ภูมิสถาปัตย์ 720 สถาปัตยกรรม 730 ประติมากรรม 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ 750 จิตรกรรม ภาพเขียน 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย 780 ดนตรี 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ 830 วรรณคดีภาษาเยอรมัน 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส 870 วรรณคดีภาษาละติน 880 วรรณคดีภาษากรีก 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 2 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย แบ่งด้วยเลขหลักที่ 3 620 Engineering & allied operations 621 Applied physics 622 Mining & related operations 623 Military & nautical engineering 624 Civil engineering 625 Engineering of railroads & roads 626 [Unassigned] 627 Hydraulic engineering

Dewey Decimal Classification: DC การแบ่งหมวดย่อย เป็นการแบ่งในแต่ละหมวดย่อยและใช้ทศนิยมเข้ามาด้วย เช่น 371 โรงเรียน กิจกรรมการสอน การศึกษาพิเศษ 371.1 ครูและการสอนของครู 371.11 ลักษณะและคุณสมบัติของครู 371.12 คุณสมบัติทางวิชาชีพของครู 371.2 การบริหาร การจัดการโรงเรียน

การแบ่งหมวดใหญ่ (Classes) Library of Congress Classification : LC การแบ่งหมวดใหญ่ (Classes)  A ความรู้ทั่วไป ตาราง M ดนตรี B ปรัชญา จิตวิทยาและ ศาสนา N ศิลปกรรม C ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ P ภาษาและวรรณคดี D ประวัติศาสตร์:เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า Q วิทยาศาสตร์ E, F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา R แพทยศาสตร์ G ภูมิศาสตร์แผนที่มานุษยวิทยา นันทนาการ S เกษตรศาสตร์ H สังคมศาสตร์ T เทคโนโลยี J รัฐศาสตร์ U วิชาการทหาร K กฎหมาย V นาวิกศาสตร์ L การศึกษา Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์

การแบ่งหมวดย่อย (Division) Library of Congress Classification : LC การแบ่งหมวดย่อย (Division) B ปรัชญา BC ตรรกวิทยา BD ปรัชญาพยากรณ์ อภิปรัชญา BF จิตวิทยา BH สุนทรียศาสตร์ BJ จริยศาสตร์ BL ศาสนาต่าง ๆ เทพปกรณัม BM ศาสนายิว BP ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ BQ พุทธศาสนา BR ศาสนาคริสต์ BS คัมภีร์ไบเบิล BT เทววิทยาเชิงคริสต์ศาสตร์ BV เทววิทยาภาคปฏิบัติ BX คริสตศาสนานิกายต่าง ๆ

Library of Congress Classification : LC การแบ่งหมวดย่อย QA คณิตศาสตร์ QB ดาราศาสตร์ QC ฟิสิกส์ QD เคมี การแบ่งเลขหมู่ PN86 ประวัติการวิจารณ์ PN101 ผู้แต่งอเมริกันอังกฤษ HF5415 การตลาด การแบ่งด้วยทศนิยม PN6100.C7 รวมโคลงกลอนของวิทยาลัย PN6100.H8 เรื่องขำขัน PN6519.C5 สุภาษิตจีน

National Library of Medicine : NLM กลุ่มแพทย์พื้นฐาน Preclinical Sciences QS Human Anatomy QT Physiology QU Biochemistry QV Pharmacology QW Microbiology and Immunology QX Parasitology QY Clinical Pathology QZ Pathology

National Library of Medicine : NLM กลุ่มแพทย์เฉพาะทาง Medicine and Related Subjects W Health Professions WA Public Health WB Practice of Medicine WC Communicable Diseases WD Disorders of Systemic, Metabolic or Environmental Origin, etc. WO Surgery ฯลฯ

การจัดหมู่สำหรับหนังสือบางประเภท ใช้ตัวอักษรแทนเลขหมู่ หนังสือนวนิยาย นว, น, F, Fic หนังสือรวมเรื่องสั้น รส., SC หนังสือบันเทิงคดีสำหรับเด็ก J, ย

การจัดหมู่สำหรับหนังสือบางประเภท ใช้อักษรแทนหมวดหมู่ หนังสืออ้างอิง อ, R, Ref วิทยานิพนธ์ วพ, Thsis หนังสือแบบเรียน คู่มือครู บ, ค หนังสือสารคดีสำหรับเด็ก ย, J

เลขประจำตัวผู้แต่งหรือเลขหนังสือ (Author umber หรือ Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่ประกอบด้วยอักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งหรือชื่อหนังสือ (กรณีที่ไม่มีผู้แต่ง)ที่ได้จากการลงรายการหลัก และตามด้วยตัวเลขที่กำหนดขึ้นจากสระและพยัญชนะของชื่อผู้แต่งหรือชื่อหนังสือ ตัวแรก เช่น

เลขเรียกหนังสือ(Call numbers) เลขหมู่ อักษรแรกชื่อผู้แต่ง หรืออักษรแรกนามสกุล หรือ อักษรแรกชื่อหนังสือ เลขผู้แต่ง เลขปีพิมพ์ อักษรบอกเล่ม อักษรและเลขบอกลำดับเล่มที่ซ้ำ

เลขเรียกหนังสือ(Call numbers)

การจัดเก็บหนังสือบนชั้นตามเลขเรียกหนังสือ 1. จัดเรียงตามเลขหมู่น้อยไปมาก ซ้ายไปขวา บนลงล่าง เรียงลำดับตามเลขเรียก เลขซ้ำกันเรียงตามอักษรแรกของผู้แต่ง/สกุล 4. อักษรผู้แต่งซ้ำให้ดูเลขผู้แต่ง 5. เลขผู้แต่งซ้ำให้เรียงตามอักษรชื่อหนังสือ 6. หนังสือหลายเล่มจบหรือชุดให้เรียงตามเล่ม ชุด 7. หนังสือที่มีหลายฉบับให้เรียงตามฉบับ

การจัดเก็บหนังสือบนชั้นตามเลขเรียกหนังสือ

เลขเรียกหนังสือและการเรียงหนังสือขึ้นชั้น 307 ว346น 2551 371.1 จ563ก 2551 ล.1 561 ส563ก 2551 ฉ.1

เลขเรียกหนังสือและการเรียงหนังสือขึ้นชั้น QA 76.75 อ236 2552 Z 674.75 I58A87

เลขเรียกหนังสือและการเรียงหนังสือขึ้นชั้น Z669.5 R465A 2007 น ส623ป

การจัดเก็บวารสาร 1. วารสารฉบับปัจจุบันจัดวางบนชั้นตามชื่อวารสาร 2. วารสารล่วงเวลาจัดเก็บที่ชั้นแยกต่างหาก และมีการเย็บเล่มวารสาร 3. วารสารเย็บเล่มจะเรียงตามชื่อวารสาร

การจัดเก็บหนังสือพิมพ์ 1. หนังสือพิมพ์ฉบับปัจจุบันใส่ไม้แขวน 2. หนังสือพิมพ์ฉบับล่วงเวลาจัดเก็บที่ชั้นล่วงเวลา 3. หนังสือพิมพ์ล่วงเวลานำมาตัดทำกฤตภาค หรือเย็บเล่ม หรือสแกนเก็บไว้

การจัดเก็บจุลสารและกฤตภาค การจัดเก็บจุลสารและกฤตภาค จะจัดเก็บใส่แฟ้มแยกตามหัวเรื่อง โดยเรียงหัวเรื่องตามลำดับอักษร

การจัดเก็บโสตทัศนวัสดุ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บจะจัดเก็บแยกประเภทและเรียงตามลำดับเลขทะเบียน เช่น PIC, SL, TC, VCD, DVD, CD CD001, CD002, CD003 เป็นต้น

The End