การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก 5 สี ดีต่อสุขภาพ อ.ปรีชา รัตนัง สาขาพืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก5สี ดีต่อสุขภาพ ทำไมต้องทานผัก เจ็บป่วยน้อยลงกว่าคนไม่กินผัก ฟื้นฟู ปรับสภาพได้เร็ว มีวิตามินต่อต้านอนุมูลอิสระ ไม่ให้เกิดมะเร็ง มี fiber หรือเส้นใยอาหาร
• ระบบปัสสาวะ • บำรุงสมอง/ความจำ • ป้องกันการแก่ของเซลล์ • ระบบปัสสาวะ • บำรุงสมอง/ความจำ • ป้องกันการแก่ของเซลล์ • บำรุงกระดูกและฟัน บำรุงสายตา ป้องกันมะเร็ง Green Blue/ Purple • บำรุงหัวใจ • ลดคลอเลสเตอรอล White Yellow/ Orange Red • บำรุงหัวใจ • บำรุงสายตา • สร้างภูมิคุ้มกัน • บำรุงหัวใจ • บำรุงสมอง • ปัสสาวะ
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก5สี ดีต่อสุขภาพ Chlorophyll สีเขียว มีสารประกอบอื่นๆ แคโรทีนอยด์ สารกลุ่มลูทีน (Lutein) ซีแซนทิน (Zeaxanthine) อินโดล(Indoles) ไธโอไซยาเนต(Thiocyanate) ฟลาโวนอยด์(Flavonoids)
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก5สี ดีต่อสุขภาพ คุณสมบัติของสารสีเขียว กระตุ้นการทำงานของตับ สร้างเอ็นไซม์ออกมาใช้ในการต้านมะเร็ง ป้องกันไม่ให้ DNA ถูกทำลายลุกลามจนกลายเป็นเนื้อร้าย
การปลูกผักอินทรีย์ดีต่อสุขภาพ กินผัก5สี ดีต่อสุขภาพ พืชผักสีเขียว บล๊อคโคลี่ กะหล่ำปลี ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ชะอม ตำลึง โหระพา สาระแหน่ ผักชี ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา ถั่วพู ถั่วเหลืองฝักสด กระเจี๊ยบเขียว ฯลฯ
สีขาว มีสาร อัลลิซีน (allicin) สารแซนโทน (Xanthone) โปแตสเซียม มาจากเม็ดสี เรียกว่า แอนโทแซนทินส์ (anthoxanthin) มีสาร อัลลิซีน (allicin) สารแซนโทน (Xanthone) โปแตสเซียม
คุณสมบัติของสารสีขาว ลดคลอเรสเตอรอล ความดันโลหิต ลดการแบ่งเซลมะเร็ง ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง กระเพาะอาหาร และโรคหัวใจ มีฤทธิ์ต่อต้านการเกิดเนื้องอก ลดการต้านยาในเซลมะเร็ง
ว่านหางจระเข้ ข้าวโพด มะเขือเปราะ มะเขือยาว พืชผักสีขาว กระเทียม หอมหัวใหญ่ ดอกหอม ดอกแค เห็ด ว่านหางจระเข้ ข้าวโพด มะเขือเปราะ มะเขือยาว พริกหนุ่ม ฯลฯ
เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ แคโรทีนอยด์ (Carotenoid) สีเหลือง หรือ สีส้ม เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ แคโรทีนอยด์ (Carotenoid) เบต้า-แคโรทีน (Bata-carotenoid) แอลฟา-แคโรทีน (aipha-carotenoid) ฟลาโวนอยด์ (Flavonoid) มีสารช่วย ส่งเสริมสุขภาพ
คุณสมบัติของสารสีส้ม สีเหลือง คุณสมบัติของสารสีส้ม สีเหลือง รักษาสุขภาพของหัวใจและหลอดเลือด บำรุงสายตา มองเห็นที่มืดได้ดี ลดการเสี่ยงการเกิดโรคต้อกระจก โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานได้ดี
มะละกอสุก ข้าวโพดหวานดอกโสน แตงไทย พืชผักสีเหลือง สีส้ม แครอท ฟักทอง มะละกอสุก ข้าวโพดหวานดอกโสน แตงไทย แตงเทศ ฯลฯ
เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ ไลโคพิน (Lycopene) สีแดง เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ ไลโคพิน (Lycopene) และ แอนโทไซยานีน (anthocyanin)
คุณสมบัติของสารสีแดง ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก วใจ คุณสมบัติของสารสีแดง Lycopene ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก ต้านอนุมูลอิสระ anthocyanin ชะลอความเสื่อมของเซลล์ร่างกาย ลดอัตราความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ และเส้นเลือดอุดตัน
พืชผักสีแดง มะเขือเทศ สตรอเบอรี่ ฟักข้าว แตงโม บีทรูท พริก ฯลฯ
เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ แอนโตไซยานิน (anthocyanins) สีม่วง เกิดจากเม็ดสีในกลุ่มของ แอนโตไซยานิน (anthocyanins)
คุณสมบัติของสารสีม่วง ต้านอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็ง ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดกับเซลล์ในร่างกาย ขยายเส้นเลือด ลดความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจ, อัมพาต ปรับปรุงการทำงานของระบบความจำ
พืชผักสีม่วง อัญชัน มะเขือม่วง ถั่วพูกะหล่ำปลีสีม่วง องุ่น หอมแดง เผือก ข้าวโพดมันเทศ มะนาวโห่ ฯลฯ