งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขยายพันธุ์พืช และพืชผัก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขยายพันธุ์พืช และพืชผัก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขยายพันธุ์พืช และพืชผัก
การขยายพันธุ์พืช และพืชผัก

2 การขยายพันธุ์พืช หมายถึง การเพิ่มปริมาณต้นพืช จากต้นที่มีอยู่ด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อให้พืชดำรงสายพันธุ์นั้นไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ และรักษาลักษณะประจำพันธุ์ที่มีอยู่ในพืชนั้น ๆ ให้คงอยู่

3

4 โดยแบ่งการขยายพันธุ์พืช เป็น 2 ประเภท
โดยแบ่งการขยายพันธุ์พืช เป็น 2 ประเภท 1. การขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ 2. การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

5 1. การขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ หรือ การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด
1. การขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศ หรือ การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ทำได้ง่าย สะดวก ขยายได้รวดเร็ว ปริมาณมาก ตันพันธุ์แข็งแรงมีรากแก้ว แต่มีโอกาสกลายพันธุ์สูง ต้นสูงใหญ่

6

7 พันธุกรรมเหมือนเดิม ด้วยวิธีการ ตอนกิ่ง ปักชำ ติดตา ต่อกิ่ง
2. การขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศหรือการขยายจากเนื้อเยื่อ ชิ้นส่วนต่างๆ เช่น ลำต้น ตา ใบ ราก พันธุกรรมเหมือนเดิม ด้วยวิธีการ ตอนกิ่ง ปักชำ ติดตา ต่อกิ่ง

8

9 การเพาะเมล็ดพืชในภาชนะ/แปลงเพาะ

10

11

12

13 วิธีปฏิบัติดังนี้ ใส่วัสดุที่รองก้นภาชนะเพื่อระบายน้ำ เช่น เปลือกถั่วลิสง เศษอิฐหัก แล้วใส่ดินลงภาชนะให้ต่ำกว่าขอบภาชนะเล็กน้อย ปรับหน้าดินให้เรียบ จากนั้นหว่านเมล็ดในภาชนะเพาะโดยเรียงเป็นแถว หรือหว่านให้ทั่วภาชนะกลบดินทับให้แน่นพอประมาณรดน้ำให้ชุ่ม

14 เมื่อเมล็ดงอก 7 – 10 วัน ทำการย้ายต้นกล้าโดยใช้แท่งดินสอที่ปลายแหลมไม่มากแทงลงในวัสดุเพาะข้างๆ ต้นกล้า เพื่อทำให้วัสดุเพาะหลวมในขณะที่อีกมือค่อย ๆดึงต้นกล้าขึ้นมา

15 เมื่อได้ต้นกล้าแล้วใช้ดินสอแทงลงกึ่งกลางถุงที่ใส่วัสดุปลูก ให้ลึกถึงก้นกระถางหรือถุง จากนั้นนำต้นกล้าใส่ลงในหลุมให้ใบเลี้ยงอยู่ระดับผิววัสดุปลูก กลมหลุมแล้วให้น้ำแบบฝอยละเอียดจนน้ำไหลออกก้นถุง นำไปเก็บที่ร่ม เมื่อต้นกล้าตั้งตัวได้นำออกมารับแสง ประมาณ 2 สัปดาห์ ต้นกล้าจะมีใบจริงประมาณ 6 ใบ ซึ่งพร้อมจะย้ายปลูกลงแปลงหรือกระถางที่ใหญ่ขึ้นต่อไป

16

17

18 การเพาะเมล็ดพืชในแปลงเพาะ
1.เตรียมแปลงเพาะเลือกดินที่มีความสมบูรณ์ กำจัดวัชพืชออกให้หมด วางแปลงแนว ทิศเหนือ- ใต้ ใช้ไม้ขีดวัสดุเพาะให้เป็นร่อง

19 2.หว่านเมล็ดในแปลงเพาะ หว่านทั่วแปลง ย่อยดินให้ละเอียด โรยวัสดุกลบทับอีกครั้งเพื่อกลบร่อง จากนั้นรดน้ำให้ชุ่ม

20 3.ทำร่มให้ต้นกล้าในแปลงเพาะ ดูแลรักษา น้ำ และแสงให้เหมาะสม 7 – 10 วัน เมล็ดเริ่มงอกเป็นต้นกล้า

21 4.ในกรณีที่หว่านเมล็ดหนาเกินไป ให้ย้ายไปปลูกชั่วคราวในภาชนะเพาะ ก่อนย้ายลงแปลงอีกครั้ง ให้รดน้ำในแปลงให้ชุ่มก่อนการถอนต้นกล้า เพื่อให้ต้นกล้ากระเทือนน้อยที่สุด

22 การขยายพันธุ์พืชโดยการปักชำ
เป็นการขยายพันธุ์พืชโดยการนำส่วนต่าง ๆ ของพืชพันธุ์ดี มาตัดปักชำบนวัสดุเพาะชำ ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดรากและแตกยอด จะได้พืชต้นใหม่ที่มีลักษณะเหมือนแม่ทุกประการ ทำได้ง่าย ต้นทุนต่ำ ไม่ยุ่งยาก แบ่งได้ 3 วิธี 1.ปักชำกิ่ง 2. ปักชำใบ 3. ปักชำราก

23 1.การปักชำกิ่ง คือการนำกิ่งมาปักชำในวัสดุเพาะชำ เพื่อให้เกิดรากเป็นพืชต้นใหม่ แบ่งออกตามความอ่อนแก่ของกิ่ง

24

25 2.การปักชำใบ คือการนำใบมาปักชำให้เกิดยอดและราก สามารถทำได้หลายวิธี ขึ้นกับชนิดของพืช

26

27 3.การปักชำราก คือการนำราก ตัดเป็นท่อน ๆ ชำลงในวัสดุปักชำ รดน้ำให้ชุ่มจะเกิดการแตกรากทางด้านปลายและแตกยอดใหม่

28 การย้ายปลูก การย้ายปลูกกิ่งแก่ต้องระวังไม่ให้รากขาด ทำโดยการขุดแทนการถอน ตั้งไว้ในที่ร่มจนพืชตั้งตัวได้จึงไปปลูก

29

30 พืชผัก

31 พืชผัก หมายถึง : พืชที่มนุษย์ใช้บริโภคเป็นอาหารประจำวัน ที่มีคุณค่าทางอาหารครบถ้วน ให้แป้ง และไขมัน ซึ่งให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย ให้โปรตีนที่ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตของร่างกาย ให้วิตามินและเกลือแร่ที่ช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรง มีภูมิต้านทานต่อโรคภัยไข้เจ็บและสามารถดำชีวิตได้ตามปกติ

32 1. การจำแนกพืชผักตามอุณหภูมิที่เหมาะสม กับการเจริญเติบโต
1. การจำแนกพืชผักตามอุณหภูมิที่เหมาะสม กับการเจริญเติบโต

33 1.1 ชนิดพืชผักที่ชอบอากาศเย็น
การจำแนกพืช 1.1 ชนิดพืชผักที่ชอบอากาศเย็น เป็นกลุ่มพืชผักที่เจริญเติบโตได้ดีที่อากาศหนาว เหมาะสมที่จะปลูกในฤดูหนาว พื้นที่สูงที่มีอากาศเย็นกว่าพื้นราบ พืชกลุ่มนี้ได้แก่ บร็อคโคลี่ กะหล่ำดอก กะหล่ำปลี กะหล่ำปม ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหอม แครอท หน่อไม้ฝรั่ง คะน้า กระเทียม คึ่นฉ่าย ผักกาดหัว หอมใหญ่ ปวยเล้ง ถั่วลันเตา มันฝรั่ง

34 1.1 ชนิดพืชผักที่ชอบอากาศเย็น

35 1.2 ชนิดพืชผักที่ต้องการอากาศอบอุ่น
เป็นกลุ่มที่เจริญเติบโตได้ดีที่มีอากาศอบอุ่น ได้แก่ แตงกวา แตงไทย มะเขือเทศ มะเขือยาว พริก พริกยักษ์ ฟักทอง มะระ บวบ น้ำเต้า ฟักเขียว ถั่วเขียว ข้าวโพดฝักอ่อน

36 2. การจำแนกพืชผักตามส่วน ของการนำไปใช้ประโยชน์
2. การจำแนกพืชผักตามส่วน ของการนำไปใช้ประโยชน์

37 2.1 ราก ได้แก่ ผักกาดหัว แครอท หัวผักกาดแดง เทอร์นิพ มันเทศ
2.2 ลำต้น ได้แก่ หน่อไม้ฝรั่ง หน่อไม้ไผ่ กะหล่ำปม มันฝรั่ง เผือกกลอย ผักบุ้ง

38 2.4 ดอก ได้แก่ บร็อคโคลี่ กะหล่ำดอก ดอกโสน ดอกแค
2.3 ใบ ได้แก่ คะน้า กะหล่ำปลี ผักกาดขาวปลี ผักกวางตุ้ง ผักกาดเขียวปลี ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ กระเทียมหัว กระเทียมต้น หอมแดง กุยช่าย 2.4 ดอก ได้แก่ บร็อคโคลี่ กะหล่ำดอก ดอกโสน ดอกแค

39 2.5 ผล ได้แก่ ถั่วลันเตา ถั่วฝักยาว ถั่วแขก ถั่วเหลืองฝักสด ข้าวโพดหวาน กระเจี๊ยบ แตงกวา แตงเทศ มะระ ฟักทอง พริก มะเขือเทศ มะเขือยาว

40 หลักในการเลือกซื้อเมล็ดพันธุ์
* มีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงและมีอัตราการงอกดี มีความแน่นอนของสายพันธุ์ เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อโรคและแมลง เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากสิ่งเจือปนต่าง ๆ

41 ปัจจัยที่สำคัญของการผลิตพืชผัก
สภาพดินฟ้าอากาศ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน แหล่งน้ำ การขนส่งและคมนาคม ตลาดและสถานที่จัดส่งผัก แรงงาน

42 สิ่งที่ต้องพิจารณาในการวางแผนการปลูกผัก
1.สถานที่ปลูกผัก * ที่ตั้งของสถานที่ปลูก แหล่งน้ำ สภาพดิน แหล่งธาตุอาหารที่สำคัญ * สภาพแสง และ ร่มเงา 2.ผู้ปลูก * ความประสงค์ของผู้ปลูก งานอดิเรก บริโภคในครัวเรือน เพื่อการค้า ความรู้ในด้านการปลูก วิธีการปลูก การดูแลรักษา ธรรมชาติของผัก ชนิดต่างๆ แรงงานในการปลูกผัก ความชำนาญในการปลูกผัก

43 ประเภทของพืชผัก แบ่งตามอายุ กุยช่าย ผักหวาน มะเขือ ชะอม
ชนิดของผัก ประเภทของพืชผัก แบ่งตามอายุ อายุสั้น (น้อยกว่า 2 ด.) อายุปานกลาง ( ด.) อายุยืนนาน ( ด.) ยืนต้น (มากกว่า 1ปี ) ผักชี ผักกาดหอม กะหล่ำปลี พริก ถั่วลันเตา กระเทียม ผักกาดขาวปลี กุยช่าย ผักหวาน มะเขือ ชะอม คะน้า แตงกวา บล็อกโคลี่ น้ำเต้า มันฝรั่ง กะเพา ชะพลู ผักกาดหอม ถั่วฝักยาว มันเทศ โหระพา ตะไคร้ ผักกาดกวางตุ้ง กะหล่ำดอก ถั่วแระญี่ปุ่น กระชาย ปวยเล้ง หอมใหญ่ หน่อไม้ฝรั่ง

44 ฤดูกาล พฤศจิกายน -มกราคม หอมแบ่ง กุยช่าย กระเทียม กะหล่ำปลี ผักกาดขาว กะหล่ำปม มะเขือเทศ ถั่วแระญี่ปุ่น

45 กุมภาพันธ์ - เมษายน ผักชี หอม ผักบุ้งจีน ผักกาดหัว ถั่วฝักยาว แตงไทย มะระ ผักกาดเขียวปลี ผักกาดขาว

46 คะน้า บวบ กวางตุ้ง ข้าวโพดหวาน หอมแดง
พฤษภาคม – กรกฎาคม คะน้า บวบ กวางตุ้ง ข้าวโพดหวาน หอมแดง

47 สิงหาคม – ตุลาคม ผักชีลาว ผักโขม หอมแบ่ง มันแกว มันเทศ มะเขือเปราะ มะเขือยาว ผักบุ้งจีน พริก คะน้า

48 วิธีการปลูก 1.การเตรียมแปลงปลูก

49 2.การให้น้ำ

50 3.การให้ปุ๋ย

51 4.การกำจัดวัชพืช

52 5.การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช
สมุนไพร กับดัก ปลูกพืชร่วม สารเคมี

53 การเก็บเกี่ยว ควรเก็บตอนเช้า ควรเก็บในขณะที่ผลไม่แก่จัด
วิธีสังเกตในการเก็บผักชนิดต่าง ๆ แตงกวา 30 วัน ผลอ่อน มีหนาม ข้าวโพดหวาน 45 – 60 วัน ฝักอ่อน เม็ดไม่แก่ มะระ 50 – 60 วัน ผลโต สีเขียวอ่อน

54 ผักกาดหัว 40 – 55 วัน ต้นยังไม่มีดอก ผักชี 40 – 50 วัน ยังไม่ออกดอก
ผักชี 40 – 50 วัน ยังไม่ออกดอก มะเขือเทศ 60 – 80 วัน ผลเริ่มเปลี่ยนสีเป็นสีเหลือ ผักบุ้ง 25 – 30 วัน ยอดอ่อน ยาว 1 ฟุต ฯลฯ คะน้า 40 – 50 วัน ยังไม่เป็นเสี้ยน ถั่วฝักยาก 50 – 60 วัน ฝักโตเต็มที่ไม่พอง

55 เทคนิคการปลูกผักชนิดต่าง ๆ
ตระกูลแตงและตระกูลถั่ว ผักต่าง ๆเหล่านี้ เมล็ดค่อนข้างใหญ่ งอกเร็ว ควรทำค้าง ให้น้ำสม่ำเสมอ กำจัดหญ้า แมลง ใส่ปุ๋ยยูเรีย หลังเมล็ดงอก 2 อาทิตย์

56 ตระกูลกะหล่ำปลี ผักกาด
1.หยอดเมล็ดเป็นหลุม ๆ มีใบจริงถอนแยก 2.ใส่ปุ๋ย 3.เก็บเกี่ยวใช้การตัด ไม่ควรถอนทั้งต้น

57 1.ควรมีการเพาะกล้าก่อน 2. ถอนแยกต้นกล้าแข็งแรง ลงปลูก
ตระกูลพริก 1.ควรมีการเพาะกล้าก่อน 2. ถอนแยกต้นกล้าแข็งแรง ลงปลูก 3. ให้น้ำสม่ำเสมอ กำจัดหญ้า แมลง

58 1.ควรนำเมล็ดแช่น้ำ หว่านเมล็ดในแปลงกลบดินทับบาง ๆ
ตระกูลผักชี 1.ควรนำเมล็ดแช่น้ำ หว่านเมล็ดในแปลงกลบดินทับบาง ๆ 2. ถอนแยกต้นกล้าแข็งแรง ลงปลูก 3. ให้น้ำสม่ำเสมอ กำจัดหญ้า แมลง

59 ตระกูลโหระพา กะเพา แมงลัก
1.ควรเตรียมดินให้ละเอียด หว่านเมล็ด ใช้ฟางกลบ 2. ถอนแยกต้นกล้า 3. ให้น้ำสม่ำเสมอ กำจัดหญ้า แมลง

60

61 ขอบคุณครับ จบเรื่องพืชผัก

62 จบเรื่องการขยายพันธุ์พืช
ขอบคุณครับ จบเรื่องการขยายพันธุ์พืช


ดาวน์โหลด ppt การขยายพันธุ์พืช และพืชผัก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google